คลื่นไส้อาเจียน ภาวะร่างกายขับของเสียออกจากกระเพาะอาหาร เกิดจากการบีบรัดตัวของทางเดินอาหาร ตั้งแต่ลำไส้ กระเพาะอาหาร หลอดอาหาร กระบังลม กล้ามเนื้อทรวงอก

คลื่นไส้อาเจียน คือ ภาวะการขับของเสียออกจากร่างกาย ออกจากกระเพาะอาหารทางปาก ซึ่งเกิดจากการบีบรัดตัวของระบบทางเดินอาหาร ตั้งแต่ลำไส้ตอนบน กระเพาะอาหาร หลอดอาหาร กระบังลม รวมถึงกล้ามเนื้อทรวงอก

ความผิดปรกติของร่างกาย ที่แสดงออกด้วย การคลื่นไส้ อาเจียน อ้วก อาการเหล่านี้ แสดงให้เห็นถึงโรคต่างๆ ที่มาจากระบบทางเดินอาหาร ระบบหู หรือ ระบบประสาทและสมอง การอ้วกนั้นเกิดจากโรคอะไรบ้าง

อ้วก นั้นไม่ใช่โรค แต่เป็นอาการของโรคที่แสดงออกมาให้เห็น อาการคลื่นไส้ (Nausea) จะแสดงออกมาก่อน อาการอ้วก (Vomiting) สำหรับการคลื่นไส้อาเจียน สามารถเกิดขึ้นได้กับ คนเพศทุกวัย อาการเหล่านี้ไม่รุนแรง แต่ในบางกรณีก็มีความรุนแรงเช่นหากมีการปวดหัวอย่างรุนแรง จนถึงขั้น หมดสติ

คลื่นไส้อาเจียน คือ ภาวะการขับของเสียออกจากร่างกาย ออกจากกระเพาะอาหารทางปาก ซึ่งเกิดจากการบีบรัดตัวของระบบทางเดินอาหาร ตั้งแต่ลำไส้ตอนบน กระเพาะอาหาร หลอดอาหาร กระบังลม รวมถึงกล้ามเนื้อทรวงอก

สาเหตุของการคลื่นไส้อาเจียน คือ การถูกกระตุ้นจากสมอง ทำให้ระบบทางเดินอาหาร ตั้งแต่ลำไส้ตอนบน กระเพาะอาหาร หลอดอาหาร กระบังลม รวมถึงกล้ามเนื้อทรวงอก บีบตัว ซึ่งการบีบตัวนี้แหละ ทำให้เกิดอาการคลื่นไส้และอาเจียนออกมาก โดยปัจจัยที่กระตุ้นให้เกิดการอาเจียน นั้นมีดังนี้

  • เกิดจากปัญหาสุขภาพจิต การความคุมอารมณ์ เช่น การเกิดภาพหลอน เป็นต้น
  • การได้รับกลิ่นฉุนอย่างรุนแรง หรือ อาการแพ้กลิ่นต่างๆที่ร่างกายไม่รับ เช่น กลิ่นน้ำหอมติดรถยนต์ กลิ่นเหม็นเน่าซากศพ เป็นต้น
  • การจินตนาการภาพ ที่ไม่พึงประสงค์ เช่น ภาพคนตาย ภาพอนาจารอย่างน่ารังเกรียจ ภาพอุบัติเหตุสยดสยอง ภาพอาหารเน่า เป็นต้น
  • ปัญหาระบบประสาทหูผิดปรกติ ที่เป็นระบบการทรงตัวของร่างกาย ซึ่งทำให้เกิดอาการมึนหัว จนอาเจียนออกมา
  • การได้รับสารเคมีหรือยา เข้าสู่ร่างกาย ทำให้เกิดการขับสาเคมีออกจากร่างกาย โดยการอ้วกออกมา
  • การกินอาหารที่ไม่สะอาด หรือ อาหารดิบ เมื่อร่างกายได้รับอาหารที่ไม่สุก หรือ ดิบ หรือ เป็นของเน่าเสีย ร่างกายจะมีกลไกในการขับอาหารออกมา โดยการอ้วก
  • เกิดจากการตั้งครรภ์ เรียกอาการแบบนี้ว่า อาการแพ้ท้อง
  • เกิดจากการดื่มสุรา เมื่อแอลกฮอล์เข้าสู่ร่างกายซึมเข้าสู่เส้นเลือด มากทำให้ร่างกายเสียการทรงตัว เวียนหัว จนอวดออกมา

อาการคลื่นไส้ และ อาเจียน นั้นเป็นลักษณะอาการของโรค ดังต่อไปนี้

โรคอะคาเลเซีย โรคระบบทางเดินอาหาร กินข้าวไม่ได้ โรคไม่ติดต่อโรคอะคาเลเซีย ไขมันพอกตับ ไตรกรีเซอไรด์ในเลือดสูง ไขมันเกาะที่ตับ โรคตับไขมันพอกตับ
ตับอักเสบ โรคตับอักเสบ โรคเป็นพิษต่อตับ โรคตับตับอักเสบ โรคฝีที่ตับ โรคฝีตับ โรคตับ โรคติดเชื้อโรคฝีในตับ
ตับวาย ตับหล้มเหลว โรคตับ กินยาพาราเกินขนาดตับวาย อุ้งเชิงกรานอักเสบ ปวดท้องน้อย มีเซ็กส์กับคนเป็นหนองใน โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อุ้งเชิงกรานอักเสบ
ท้องผูก ขี้ไม่ออก ขี้แข็ง อาการถ่ายอุจจาระไม่ออกท้องผูก โรคฝีในสมอง โรคสมอง โรคติดเชื้อ ฝีที่สมองฝีในสมอง
โรคซีวีเอ โรคอัมพาต ภาวะสมองขาดเลือด โรคสมองขาดเลือดโรคสมองขาดเลือด มะเร็งช่องปาก โรคมะเร็ง โรคในช่องปาก เป็นมะเร็งช่องปากมะเร็งช่องปาก
โรคพิษสุนัขบ้า โรคกลัวน้ำ โรคติดต่อ โรคติดเชื้อโรคพิษสุนัขบ้า โรคพยาธิใบไม้ในปอด โรคพยาธิ โรคปอด โรคในทรงอกโรคพยาธิใบไม้ในปอด
มะเร็งลำไส้เล็ก โรคระบบทางเดินอาหาร โรคมะเร็ง เนื้อร้ายมะเร็งลำไส้เล็ก ลำไส้เล็กอุดตัน โรคระบบทางเดินอาหาร โรคไม่ติดต่อ โรคลำไส้โรคลำไส้เล็กอุดตัน
ลำไส้ขาดเลือด ไส้เน่า โรคระบบทางเดินอาหาร โรคไม่ติดต่อโรคลำไส้ขาดเลือด ลำไส้อักเสบ โรคระบบทางเดินอาหาร โรคไม่ติดต่อ โรคลำไส้โรคลำไส้อักเสบ
โรคไส้เลือน โรคระบบทางเดินอาหาร โรคลำไส้ โรคไม่ติดต่อโรคไส้เลือน มะเร็งกระเพาะอาหาร โรคระบบทางเดินอาหาร โรคไม่ติดต่อ การรักษามะเร็งมะเร็งกระเพาะอาหาร
โรคกระเพราะ แผลในกระเพาะอาหาร แผลเป็บติค โรคระบบทาเดินอาหารแผลในกระเพาอาหาร มะเร็งหลอดอาหาร โรคมะเร็งหลอดอาหาร โรคมะเร็ง โรคไม่ติดต่อมะเร็งหลอดอาหาร
โรคหลอดอาหารอักเสบ โรคระบบทางเดินอาหาร โรคไม่ติดต่อ แสบคอโรคหลอดอาหารอักเสบ นิ่วในไต โรคไต โรคในช่องท้อง โรคไม่ติดต่อโรคนิ่วในไต
ถุงน้ำในไต โรคไต โรคไม่ติดต่อ โรคที่ช่องท้องโรคถุงน้ำในไต ไตวายเรื้อรัง โรคไต โรคไม่ติดต่อ ไตอักเสบไตวายเรื้อรัง
โรคคุชชิง กลุ่มอาการคุชชิง อาการหน้าบวม โรคไม่ติดต่อโรคคุชชิง โรคแอดดิสัน โรคต่อมหมวกไต โรคฮอร์โมน โรคไม่ติดต่อโรคแอดดิสัน
ต่อมทอนซิลอักเสบ โรคติดเชื้อ ต่อมทอนซิล เจ็บคอต่อมทอนซิลอักเสบ โรคหูน้ำหนวก โรคหูชั้นกลางอักเสบ โรคหู โรคหูคอจมูกโรคหูน้ำหนวก
โรคประสาท โรคสมอง โรคไม่ติดต่อ รักษาโรคประสาทโรคประสาท โรคเวียนศีรษะ โรคหู บ้านหมุน โรคไม่ติดต่อโรคบ้านหมุน
โรคสมองอักเสบ โรคสมอง โรคติดเชื้อ ภาวะสมองอักเสบโรคสมองอักเสบ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ โรคสมอง โรคติดเชื้อโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
ตับแข็ง ภาวะตับแข็ง โรคตับแข็ง โรคตับโรคตับแข็ง ไทยรอยด์ โรคต่อมไทรอยด์ โรคระบบฮอร์โมน เจ็บคอโรคไทรอยด์
ช่องท้องอักเสบ เยื่อบุท้องอักเสบ โรคระบบทางเดินอาหาร โรคไม่ติดต่อโรคช่องท้องอักเสบ ตับอ่อนอักเสบ โรคตับ การติดเชื้อ อาการโรคตับโรคตับอ่อนอักเสบ
โรคถุงน้ำดีอักเสบ โรคติดเชื้อ โรคในช่องท้อง โรคระบบทางเดินอาหารโรคถุงน้ำดีอักเสบ ติดเชื้อในกระแสเลือด ติดเชื้อในกระแสดลหิต โรคติดเชื้อโลหิตเป็นพิษ
โรคหูดับ โรคหูดับเฉียบพลัน โรคหู ไม่ได้ยินเสียงโรคหูดับ กาฬโรค โรคติดต่อ โรคติดเชื้อ วิธีรักษากาฬโรคโรคกาฬโรค
ไข้กาฬหลังแอ่น โรคติดต่อ โรคติดเชื้อ โรคระบบทางเดินหายใจโรคไข้กาฬหลังแอ่น ไข้รากสาดน้อย ไข้หัวโกร๋น ไข้ไทฟอยด์ โรคติดเชื้อไข้ไทฟอยด์
โรคอีโบล่า โรคติดต่อ โรคติดเชื้อ ติดเชื้อไวรัสอีโบล่าติดเชื้อไวรัสอีโบล่า ไข้หวัดนก H5N1 โรคติดต่อ โรคระบาดไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่H5N1
โรคฝีดาษ ไข้ทรพิษ โรคติดต่อ โรคระบาดโรคฝีดาษ โรคมือเท้าปาก โรคปากเปื่อยเท้าเปื่อย โรคติดต่อ โรคติดเชื้อโรคมือเท้าปาก
ไข้เลือดออก โรคติดต่อ โรคติดเชื้อ ยุงลายกัดโรคไข้เลือดออก โรคต้อหิน โรคตา ตาต้อ โรคเกี่ยวกับดวงตาโรคต้อหิน
โรคกระเพาะอักเสบ โรคระบบทางเดินอาหาร โรคไม่ติดต่อ ปวดท้องโรคกระเพาะอาหารอักเสบ ไวรัสตับอักเสบ โรคติดเชื้อ โรคติดต่อ โรคตับ โรคไวรัสตับอักเสบบี
ไส้ติ่งอักเสบ โรคไม่ติดต่อ โรคในช่องท้อง โรคระบบทางเดินอาหารโรคไส้ติ่งอักเสบ

การป้องกันการคลื่นไส้และอาเจียน

สำหรับอาการคลื่นไส้อาเจียน สามารถป้องกันภาวะนี้ได้ ด้วยวิธีการดังต่อไปนี้

  • พักผ่อนให้เพียงพอ
  • ผ่อนคลายและพยายามอย่าเครียด
  • ไม่ควรนอนราบ เนื่องจาก การนอนราบจะทำให้อาเจียนออกมาง่าย
  • หากมีอาการอ้วกอยู่ ให้กินยาบรรเทาอาการอ้วก แต่ต้องกินยาตามคำสั่งแพทย์
  • หลีกเลี่ยงการถูกกระตุ้นให้เกิดอาการคลื่นไส้อาเจียน
  • ปรับสภาพสิ่งแวดล้อมรอบตัว ให้มีอากาศถ่ายเทสะดวก ไม่มีกลิ่นอับ
  • กินอาหารที่สะอาด ถูกสุขลักษณะ
  • ดื่นน้ำให้เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย

ไขมันพอกตับ ภาวะไขมันเกาะที่ตับสูง เกิดจากไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง อาการปวดชายโครงด้านขาว ตัวเหลือง ตาเหลือง มีน้ำในท้องมาก อ่อนเพลีย ไขมันในเส้นเลือดสูงไขมันพอกตับ ไตรกรีเซอไรด์ในเลือดสูง ไขมันเกาะที่ตับ โรคตับ

สำหรับ ภาวะไขมันพอกตับ เป็นโรคที่เกิดมากใน ประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งพบมากถึง ร้อยละ 20 ของจำนวนประชากร แต่ในประเทศไทยพบว่ามีอัตราการเกิดที่ ร้อยละ 9 ของจำนวนประะชากร ซึ่งเกิดกับประชากรอายุ 40 ถึง 50 ปี ที่อัตราการเผาผลาญไขมันเริ่มลดลง แต่ความน่ากลัวของโรคนี้ คือ ร้อยละ 50 ของคนที่เป็นโรคไขมันพอกตับ ไม่แสดงอาการให้เห็นในระยะแรกของการเกิดโรค

กลุ่มเสี่ยงที่ทำให้เกิดภาวะไขมันพอกตับ คือ กลุ่มผู้ป่วยโรคเบาหวาน และ คนอ้วน รวมถึง ผู้ป่วยโรคไขมันโลหิตสูง พบว่าร้อยละ 90 ของคนกลุ่มนี้ เป็น โรคไขมันพอกตับ ซึ่งสัญญาณอันตรายที่บ่งบอกว่า ท่านกำลังจะเป็น โรคไขมันพอกตับ คือ

  • การเกิดไขมันสะสมที่หน้าท้อง และมีน้ำหนักตัวมากขึ้น
  • ระดับคอเลสเตอรอลและระดับไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง
  • รู้สึกเหนื่อยและอ่อนเพลีย
  • เจ็บและตึงๆ ที่ชายโครงด้านขวา
  • มีอาการเบื่ออาหาร และคลื่นไส้อาเจียนเป็นบางครั้ง

ภาวะไขมันพอกตับ นั้นเป็นความผิดปกติของตับ ไม่ต้องดื่มสุรามากก็เกิดได้ ที่สำคัญการที่เกิดภาวะไขมันพอกตับ สามารถนำไปสู่ภาวะตับวายและมะเร็งตับได้ในอนาคต

สาเหตุของการเกิดโรคไขมันพอกตับ

สำหรับสาเหตุการเกิดโรคไขมันพอกตับ นั้นสามารถแบ่งสาเหตุของการเกิดโรคได้ 2 สาเหตุ รายละเอียด ดังนี้

  • เกิดจากการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ความรุนแรงของโรคจะขึ้นกับปริมาณและระยะเวลาที่ดื่มแอลกอฮอล์สะสมในร่างกาย
  • ไม่ได้เกิดจากการดื่มแอลกอฮอล์ โรคนี้เกี่ยวข้องกับการเผาผลาญพลังงานของร่างกายด้อยคุณภาพ

กลไกการเกิดโรคไขมันพอกตับ นั้น ตับทำหน้าที่เก็บสะสมพลังงานจากการรับประทานอาหาร หากมีการรับประทานอาหารมากเกินไป ทำให้เกิดไขมันสะสมในตับ เมื่อตับไม่สามารถย่อยสลายไขมันได้ตามปรกติ จึงทำให้ไขมันพอกตับ

โรคไขมันพอกตับ สามารถแบ่งระยะของการเกิดโรคได้ 4 ระยะ ซึ่งความรุนแรงของโรคจะมากขึ้นเรื่อยๆ รายละเอียด ดังนี้

  • ไขมันพอกตับ ระยะแรก ในระยะนี้ เริ่มมีไขมันก่อตัวที่เนื้อตับ ในระยะนี้ไม่ทำให้เกิดภาวะตับอักเสบ หรือ เกิดพังผืดที่ตับ
  • ไขมันพอกตับ ระยะที่สอง ในระยะนี้ ผู้ป่วยเริ่มมีอาการตับอักเสบ และหากปล่อยไว้ให้อักเสบ โดยไม่ทำการรักษา จะทำให้เกิดภาวะตับอักเสบเรื้อรัง และ จะรุนแรงมากขึ้นในระยะต่อไป
  • ไขมันพอกตับ ระยะที่สาม เริ่มเกิดผังผืดที่ตับ และ เนื้อตับจะค่อยๆถูกทำลาย เป็นการอักเสบของตับอย่างรุนแรง
  • ไขมันพอกตับ ระยะที่สี่ ในระยะนี้ เนื้อตับจะถูกทำลายมาก ตับไม่สามารถทำงานได้ จะเริ่มเข้าสู่ การเกิดโรคตับแข็ง หรือ มะเร็งตับ ได้

อาการของผู้ป่วยไขมันพอกตับ

สำหรับอาการผู้ป่วยโรคไขมันพอกตับ จะมีอาการตับอักเสบ ซึ่งจะรู้สึกเจ็บที่ท้อง ปวดชายโครงด้านขาว มีอาการตัวเหลือง ตาเหลือง มีน้ำในท้องมาก มีอาการอ่อนเพลีย คลื่นไส้อาเจียน อาการของโรคนี้จะค่อยๆเกิดขึ้นอย่างช้าๆ หากเกิดตับอักเสบ จึงจะพบว่าเกิดโรคไขมันพอกตับ

การวินิจฉัยโรคไขมันพอกตับ

โดยทั่วไป การวินิจฉัยโรคไขมันพอกตับ แพทย์จะสัมภาษณ์ถึงลักษณะอาการที่เกิดขึ้น การใช้ชีวิตประจำวัน จากนั้นทำการตรวจร่างกายอย่างละเอียด ตรวจเลือด เพื่อดูระดับน้ำตาล ระดับไขมัน และค่าเอนไซม์ของตับ ทำการอัลตร้าซาวด์ดูภาพของตับ รวมถึงการตัดชิ้นเนื้อไปตรวจทางพยาธิวิทยา

การรักษาโรคไขมันพอกตับ

แนวทางการรักษาไขมันพอกตับ ต้องมุ่งไปที่การลดไขมันสะสมที่ตับ และรักษาอาการอักเสบของตับร่วมด้วย เพื่อหยุดยั้งอาการของโรค ผู้ป่วยต้องรับประทานยา รักษาเบาหวานและยาลดไขมันที่ตับ แต่จะให้ดีที่สุดก็คือ ลดอาหารหวาน ลดอาหารมัน และออกกำลังกาย

การป้องกันการเกิดโรคไขมันพอกตับ

สามารถปฏิบัติตนได้ โดยการลดภาวะความเสี่ยงของการเกิดโรคโดยการควบคุมเรื่องการกินอาหาร ไม่ให้อ้วน จนเป็นสาเหตุของการเกิดโรค

  • ต้องรักษาน้ำหนักตัวให้อยูในเกิดปรกติ
  • ออกกำลังกายสม่ำเสมอในปริมาณที่เหมาะสม
  • การควบคุมอาหารให้พอประมาณ
  • ลดและเลิกการดื่มสุรา
  • หลีกเลี่ยงการกินยาโดยไม่จำเป็น

ดูแลตนเองสำหรับผู้ป่วยโรคไขมันพอกตับ

สำหรับผุ้ป่วยโรคไขมันพอกตับต้องดูแลตนเอง ดังนี้

  • ควบคุมอาหาร โดยเฉพาะอาหารกลุ่มคาร์โบไฮเดรตและไขมัน
  • ควบคุมน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
  • ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
  • ควบคุมไขมันในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
  • ควบคุมความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
  • เลิกเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
  • การกินยาต้องเป็นยาที่แพทย์แนะนำ
  • ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

การลดระดับไตรกลีเซอไรด์ในเลือด

ระดับไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูงผิดปกติ นั้นเกิดจากการกินอาหารไม่ถูกสัดส่วนทำให้เกิดพลังงานสะสมในร่างกายมากเกินไป การลดระดับไตรกลีเซอไรด์ในร่างกาย สามารถทำได้โดย

  1. ลดการกินอาหารกลุ่มคาร์โบไฮเดรต น้ำตาล ข้าว แป้ง
  2. งดกินอาหารประเภทไขมัน เช่น อาหารทอด หนังไก่ หนังเป็ด หมูกรอบ หมูสามชั้น เป็นต้น รวมถึงอาหารประเภทกะทิด้วย
  3. ทานอาหารที่มีกากใยอาหารสูง เช่น ข้าวซ้อมมือ ข้าวกล้อง ผัก และผลไม้ เป็นต้น
  4. เลิกดื่มสุราทุกชนิด
  5. ควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ปรกติ

สำหรับคนที่มีระดับไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง ควรควบคุม และรักษาโรคควบคู่กันไป เพื่อทำให้ตับสร้างไตรกลีเซอไรด์น้อยลง และขจัดไขมันในเลือดได้ดีขึ้น

โรคไขมันพอกตับ ภาวะไขมันเกาะที่ตับสูง ไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง อาการปวดชายโครงด้านขาว ตัวเหลือง ตาเหลือง มีน้ำในท้องมาก อ่อนเพลีย คลื่นไส้อาเจียน โรคเสี่ยงของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ไขมันในเส้นเลือดสูง


ขายถุงกระสอบ ถุงสายรุ้ง ย้ายหอ ย้ายบ้าน ต้องการถุงกระสอบ ถุงกระสอบราคาโรงงาน
ติดต่อ ทรัพย์ทวี Line Id : nongnlove