หลอดอาหารอักเสบเกิดจากการติดเชื้อโรค เช่น รา แบคทีเรีย ไวรัส หรือ ภาวะกรดไหลย้อย อาการเจ็บคอ แน่นหน้าอก เหมือนมีก้อนตรงอก กลืนอาหารลำบาก การรักษาทำอย่างไรโรคหลอดอาหารอักเสบ โรคระบบทางเดินอาหาร โรคไม่ติดต่อ แสบคอ

โรคหลอดอาหารอักเสบ ภาษาอังกฤษ เรียก esophagitis โรคหลอดอาหารอักเสบ คือ ภาวะการอักเสบที่เยื่อบุอาหาร โดย สาเหตุเกิดจากการติดเชื้อ เช่น เชื้อรา เชื้อแบคทีเรีย และ เชื้อไวรัส หรือ ภาวะกรดไหลย้อย ส่วนการใช้บางชนิดก็สามารถ ทำให้เกิด โรคหลอดอาหารอักเสบ ได้

อาการของโรคหลอดอาหารอักเสบ

นั้น ผู้ป่วย จะมีอาการ เจ็บ และ กลืนอาหารลำบาก เหมือนมีก้อนอะไรบางอย่างอยู่ในอก คลื้นไส้ อาเจียน และ มีแผลในปาก เป็นต้น

สาเหตุของการเกิดโรคหลอดอาหารอักเสบ

สำหรับ สาเหตุของโรคหลอดอาหารอักเสบ คือ การอักเสบที่คอ เชื้อโรคต่างๆในคอ และ หลอดอาหาร จึงทำให้เกิด อาการอักเสบ อาการหลอดอาหารอักเสบ จะเกิดง่ายกับคนที่มี ภูมิคุ้มกันอ่อนแอ เช่น ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ผู้ป่วยโรคเอดส์ เป็นต้น นอกจาก ร่างกายอ่อนแอ เป็น สาเหตุของการติดเชื้อ แล้ว โรคหลอดอาหารอักเสบ เป็น โรคแทรกซ้อน จากการเกิดโรคอื่นๆ ด้วย เช่น การติดเชื้อเริม โรคกรดไหลย้อน การอาเจียน

การตรวจโรค เพื่อทำ การวินิจฉัย โรคหลอดอาหารอักเสบ นั้น สามารถทำได้โดย การส่องกล้องดูหลอดอาหาร และ การตัดชิ้นเนื้อตรวจ

การรักษาโรคหลอดอาหารอักเสบ

สามารถทำได้โดย การให้ยารักษา อาการของโรค และ การให้สารอาหารทดแทน ปัญหาการกินอาหารลำบาก ซึ่ง ยา ที่ใช้ใน การรักษา คือ ให้ยาลดกรด ให้ยาฆ่าเชื้อรา ยาปฏิชีวนะในการฆ่าเชื้อโรค ยาแก้ปวด ยาลดการบวม เป็นต้น

การดูแลตัวเองสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดอาหารอักเสบ

สำหรับผู้ป่วยหลอดลมอักเสบ สามารถปฏิบัติ ได้ดังนี้

  • ลดการบริโภค อาหารรสจัด เช่น อาหารเปรี้ยว หรือ อาหารเผ็ด
  • ลดการบริโภค ผลไม้ ที่มีวิตามินซีสูง เนื่องจาก วิตามินซี ทำให้ระคายเคือง มากขึ้น
  • หลีกเลี่ยงการกินอาหารที่แข็ง เช่น ถั่ว ของทอด ต่างๆ เป็นต้น
  • รับประทานอาหารที่ย่อยง่าย
  • ดื่มน้ำ ช่วยในการกลืนอาหารลำบาก

กลืนลําบาก เกิดจาก , กลืนลําบาก จุกคอ , มะเร็งทางเดินอาหาร อาการ , คอบวม กลืนลําบาก , ca esophagus , มะเร็งคอ , esophagitis คือ , esophageal cancer

โรคเกี่ยวกับ ระบบทางเดินอาหาร

ไข้รากสาดน้อย ไข้หัวโกร๋น ไข้ไทฟอยด์ โรคติดเชื้อไข้รากสาดน้อย
ไข้ไทฟอยด์
โรคกาลี โรดแอนแทรก โรคติดต่อ โรคติดเชื้อโรคกาลี
โรคแอนแทรกซ์
โรคท้องร่วง โรคติดเชื้อ อุจจาระร่วง ขี้แตกโรคท้องร่วง จากเชื้ออีโคไล(E. coli)
โรคถุงน้ำดีอักเสบ โรคติดเชื้อ โรคในช่องท้อง โรคระบบทางเดินอาหาร
ถุงน้ำดีอักเสบ
ตับแข็ง ภาวะตับแข็ง โรคตับแข็ง โรคตับโรคตับแข็ง
ช่องท้องอักเสบ เยื่อบุท้องอักเสบ โรคระบบทางเดินอาหาร โรคไม่ติดต่อ
ช่องท้องอักเสบ

โรคหลอดอาหารอักเสบ สามารถรักษาอย่างไร ต้องทำอย่างไร เมื่อเป็น โรคหลอดอาหารอัดเสบ

หลอดอาหารอักเสบ คือ ภาวะการอักเสบที่เยื่อบุอาหาร สาเหตุเกิดจากการติดเชื้อโรค เช่น เชื้อรา เชื้อแบคทีเรีย และ เชื้อไวรัส หรือ ภาวะกรดไหลย้อย อาการของหลอดลมอักเสบ ทำให้เกิด อาการเจ็บคอ แน่นหน้าอก เหมือนมีอะไรเป็นก้อนตรงอก กลืนอาหารลำบาก การรักษาโรคหลอดลมอัหเสบ และ การดูแลตนเองเมื่อป่วยโรคหลอดลมอักเสบ

 

ข้ออักเสบ ( Septic arthritis ) ติดเชื้อแบคทีเรียที่ข้อกระดูก อากาของโรคปวด บวม แดง ร้อน บริเวณรอบ ๆ ข้อกระดูก มีหนองที่ข้อกระดูก แนวทางการรักษาและดูแลอย่างไร

โรคข้ออักเสบ โรคข้อ โรคกระดูก โรคข้อและกระดูก

หากท่านมี อาการปวดข้อกระดูก มี อาการแดง ร้อน ตามข้อกระดูกแล้ว อย่าพึ่งคิดว่าเป็น โรคเก๊าท์ อาการปวดข้อกระดูก มีหลายโรค ซึ่ง โรคข้ออักเสบจากการติดเชื้อ เป็นอีก โรคที่มีอาการปวดตามข้อ รวมอยู่ด้วย และความอันตรายของโรคก็มีมาก หากไม่รักษาอาจพิการถึงเสียชีวิตได้

โรคข้ออักเสบจากการติดเชื้อ ภาษาอังกฤษ เรียก Septic arthritis โรคข้ออักเสบจากการติดเชื้อ คือ ภาวะการอักเสบของข้อกระดูกต่างๆ ที่มีสาเหตุจากการติดเชื้อโรค ซึ่งเชื้อโรคที่พบส่วนใหญ่ เป็นเชื้อแบคทีเรีย ( Bacteria ) อาการที่พบ คือ ผู้ป่วยจะมีอาการปวด บวม แดง ร้อน บริเวณรอบ ๆ ข้อกระดูก และจะเปลี่ยนไปเรื่อยๆ โรคข้ออักเสบจากการติดเชื้อมีความเสี่ยงต่อการทุพลภาพสูง หากสงสัยว่าเรากำลังมีอาการปวดข้อ เป็นข้ออักเสบจากการติดเชื้อแล้ว ให้รีบปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ เพื่อรับการรักษา

ในบทความนี้ เราจะมาทำความรู้จักกับ โรคข้ออักเสบชนิดติดเชื้อ กัน โรคนี้เป็นโรคเกี่ยวกับข้อและกระดูก รวมถึงโรคเกี่ยวกับการติดเชื้อ มาทำความรู้จัก สาเหตุของการเกิดโรคข้ออักเสบจากการติดเชื้อ อาการของโรคเป็นอย่างไร การวินิจฉัยว่าเป็นโรคนี้วินิจฉัยจากอะไร การรักษาโรคข้ออักเสบจากการติดเชื้อ รวมถึงการป้องกันและการดูแลผู้ป่วยโรคข้ออักเสบจากการติดเชื้อ

สาเหตุของการเกิดโรคข้ออักเสบจากการติดเชื้อ

โรคข้ออักเสบติดเชื้อ จะมีอาการปวดข้อกระดูก เนื่องจากมีหนอง ซึ่งเราสามารถแบ่งสาเหตุของการเกิดโรคได้ 2 สาเหตุใหญ่ คือ การติดเชื้อแบคทีเรีย และการติดเชื้อหนองใน มาดูรายละเอียดของสาเหตุต่างๆ ดังนี้

  1. สาเหตุของข้ออักเสบจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ซึ่งเชื้อแบคทีเรีย สามารถเข้าสู่ร่างกายเราได้ 3 ช่องทาง คือ ติดเชื้อจากแผลจากผิวหนังและกระแสเลือด  ติดเชื้อจากภาวะภูมิต้านทานร่างกายต่ำ และติดเชื้อจากระบบทางเดินปัสสาวะ
  2. สาเหตุของข้ออักเสบติดเชื้อหนองในแท้ เชื้อโรคจากโรคหนองในแท้ มีอันตรายสูง เป็นอันตราย หากเกิดการติดเชื้อโรคหนองในที่ข้อกระดูก อัตราการตายและการทุพพลภาพสูง กลุ่นคนที่ต้องระวังการติดเชื้อจากหนองใน คือ ผู้ที่ตั้งครรภ์ ผู้มีประจำเดือน ผู้ขาดคอมพลีเมนต์  และผู้ป่วยที่เป็นโรคเอสแอลอี

อาการของผู้ป่วยโรคข้ออักเสบจากการติดเชื้อ

เราจะแยกอาการของ โรคข้ออักเสบจากการติดเชื้อ ตามสาเหตุของการติดเชื้อ เป็น อาการของผู้ป่วยโรคข้ออักเสบจากการติดเชื้อแบคทีเรีย ทั่วไป และ อาการของผู้ป่วยโรคข้ออักเสบจากการติดเชื้อหนองใน รายละเอียดของอาการต่างๆ มีดังนี้

  • อาการผู้ป่วยโรคข้ออักเสบติดเชื้อแบคทีเรียทั่วไป คือ มีอาการปวด บวม แดงและร้อน บริเวณรอบ ๆ ข้อกระดูก ซึ่งข้อที่พบบ่อย คือ ข้อหัวเข่า ข้อสะโพก ข้อเท้า ข้อมือและข้อศอก นอกจากอาการปวด บวม แล้ว ผู้ป่วยจะมีไข้ หนาวสั่นด้วย แต่อาการนี้จะหายเองภายใน 45 วัน
  • อาการผู้ป่วยโรคข้ออักเสบจากการติดเชื้อหนองใน คือ มีอาการปวด บวม แดงและร้อน บริเวณรอบ ๆ ข้อกระดูก ลักษณะของอาการปวดจะย้ายที่ไปเรื่อยๆ ข้อกระดูกที่พบว่าปวด คือ ข้อมือ ข้อเข่า ข้อเท้าและข้อนิ้วมือ เป็นต้น

การตรวจวินิจฉัยโรคข้ออักเสบจากการติดเชื้อ

การวินิจฉัยโรคข้ออักเสบจากการติดเชื้อ นั้น โดยเริ่มต้นสามารถทำได้โดย การสอบถามอาการของผิดปรกติจากผู้ป่วย และประวัติต่างๆ หากพบว่าผู้ป่วยมีอาการเหมือนโรคข้ออักเสบจากการติดเชื้อแล้ว เพื่อให้เกิดความแน่ใจ สามารถทำได้โดยการตรวจเชื้อโรค จากการเจาะน้ำข้อกระดูกไปตรวจ การเจาะCBC และการตรวจทางรังสีวิทยา โดยรานละเอียด ดังนี้

  1. การเจาะน้ำที่ข้อกระดูกไปตรวจ ดูระดับน้ำตาล หากมีระดับน้ำตาลต่ำ มีโอกาสเจอเชื้อโรคที่เป็นสาเหตุของอาการอักเสบ
  2. การเจาะ CBC เพื่อดูค่าเม็ดเลือดขาว
  3. การตรวจทางรังสีวิทยา เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงของกระดูกรอบ ๆ ข้อ หากพบว่าบางลงหลังการติดเชื้อได้ 7 วันและจะพบว่าช่องว่างระหว่างข้อแคบลงหลังจากติดเชื้อได้ 14 วัน แสดงว่ามีการติดเชื้อ

การรักษาโรคข้ออักเสบจากการติดเชื้อ

การรักษาภาวะข้ออักเสบจากการติดเชื้อโรคนั้น สามารถทำการรักษาโดยการดูดหนองออกจากข้อกระดูกให้หมดและใช้ยาปฏิชีวนะ และรักษาโดยการประคับประครองอาการแทรกซ้อน ตามลำดับ รายละเอียดของการรักษา มีดังนี้

  • เจาะข้อกระดูก เพื่อทำการระบายหนองออกจากข้อกระดูก การเจาะจะง่ายหากเป็นข้กระดูกหัวเข่า แต่ถ้าเป็นข้อกระดูกอื่นๆ เช่น ข้อสะโพก หรือหัวไหล จะเจาะยาก ต้องใช้การเจาะด้วยการส่องกล้อง
  • จากนั้นใช้ยาปฏิชีวนะ การเจาะหนองอาจไม่หมด ซึ่งเชื้อโรคสามารถเจิญเติบโตต่อได้ โดยการใช้ยาปฏิชีวนะ ในระยะแรกจะให้ยาโดยการฉีด จากนั้นหลังจากผ่านไป 6 สัปดาห์ จะให้ยา เพื่อฆ่าเชื้อให้หมดและไม่กลับมาเจริญเติบโตในข้อกระดูก
  • จากนั้นเป็นระยะเวลาของการประคับประคองการเกิดโรคแทรกซ้อน เช่น การใช้ยาแก้ปวด เฝ้าระวังการช็อกจากการขาดน้ำ

การป้องกันการเกิดโรคข้ออักเสบจากการติดเชื้อ

  • ข้ออักเสบจากการติดเชื้อ สามารถเกิดขึ้นจากการติดเชื้อจากการมีเพศสัมพันธ์กับผู้ป่วยโรคหนองใน ดังนั้น ต้องระวัง และป้องกัน หากต้องมีเพศสัมพันธ์กับผู้ติดเชื้อโรคหนองใน
  • โรคข้ออักเสบจากการติดเชื้อนั้น เชื้อโรคสามารถเข้าสู่ร่างกายและเข้าสู่กระแสเลือดทางแผล ดังนั้น หากเกิดแผลต้องระวังการติดเชื้อ ทำความสะอากแผลให้สะอาด
  • พักผ่อนให้เพียงพอ เนื่องจากการพักผ่อนที่เพียงพอทำให้ภูมิต้านทานโรคของร่างกายทำงานปรกติ และร่างกายแข็งแรง
  • ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ ในปริมาณที่เหมาะสม เพื่อให้ร่างกายแข็งแรง

อาการปวดทำให้ผู้ป่วย โรคข้ออักเสบจากการติดเชื้อ ทรมาน การแก้อาการปวด ช่วยให้ผู้ป่วยบรรเทาอาการของโรคได้ เราจึงของแนะนำ สมุนไพร ช่วยแก้ปวด มีดังนี้

แคนา ต้นแคนา สมุนไพร ประโยชน์ของแคนาแคนา
กระเทียม สมุนไพร สมุนไพรไทย เครื่องเทศกระเทียม
หญ้าคา สมุนไพร สมุนไพรไทยหญ้าคา
ไมยราบ สมุนไพร สมุนไพรไทย พืชล้มลุกไมยราบ

โรคข้ออักเสบ ( Septic arthritis ) คือ ภาวะการอักเสบของข้อกระดูกจากการติดเชื้อ เชื้อแบคทีเรีย อาการโรคข้ออักเสบ คือ มีอาการปวด บวม แดง ร้อน บริเวณรอบ ๆ ข้อกระดูก จะเปลี่ยนไปเรื่อยๆจากการติดเชื้อ มีหนองที่ข้อกระดูก โรคระบบข้อและกระดูก สาหตุ อาการ รักษาอย่างไร


ขายถุงกระสอบ ถุงสายรุ้ง ย้ายหอ ย้ายบ้าน ต้องการถุงกระสอบ ถุงกระสอบราคาโรงงาน
ติดต่อ ทรัพย์ทวี Line Id : nongnlove