ขี้เหล็กเทศ ( Coffea senna ) สมุนไพรตระกูลถั่ว ประโยชน์และสรรพคุณบำรุงร่างกาย รักษาแผล ขับปัสสาวะ รักษานิ่ว รักษาหนองใน ลดความดัน ต้นขี้เหล็กเทศเป็นอย่างไรขี้เหล็กเทศ สมุนไพร ต้นขี้เหล็ก สมุนไพรบำรุงหัวใจ

สมุนไพร สำหรับวันนี้ ขี้เหล็กเทศ ภาษาอังกฤษ เรียก Coffea senna ชื่อวิทยาศาสตร์ของขี้เหล็กเทศ คือ Senna occidentalis (L.) Link เป็นพืชตระกูลถั่ว ชื่ออื่น ๆของขี้เหล็กเทศ คือ ขี้เหล็กเผือก ผักเห็ด ลับมืนน้อย หมากกระลิงเทศ ขี้เหล็กผี ชุมเห็ดเล็ก พรมดาน ชุมเห็ดเทศ ผักจี๊ด กิมเต่าจี้ ม่อกังน้ำ ว่างเจียงหนาน คางเค็ด ผักเค็ด ผักเคล็ด เลนเค็ด

หากจะกล่าวถึง ขี้เหล็กเทศ เป็นพืชมีถิ่นกำเนิดในอเมริกาใต้ สามารถปลูกได้ในประเทศเขตร้อนชื้น โดยจะขึ้นพื้นที่โล่ง รกร้าง ตามไหล่เขา ริมคลอง ยอดอ่อนและใบถูกนำมาเป็น ส่วนผสมสำหรับทำ แกงเลียง แกงเผ็ด ต่างก็ใช้ขี้เหล้กเทศ มีความอร่อยของอาหาร มีการนำเมล็ดของขี้เหล็กเทศมาบดดื่มแทนชาและกาแฟ แต่การรับประทานขี้เหล็กเทศต้องบริโภคในปริมาณที่เหมาะสำ หากรับประทานมากเกินไปจะเป็นพิษต่อกระเพาะอาหาร ต่อตับ ระบบเลือด หัวใจ ปอดและลำไส้ได้ ซึ่งพิษของขี้เหล็กเทศอยู่ที่เมล็ด แต่

ประโยชน์ของขี้เหล็กเทศ

สำหรับ ประโยชน์ของต้นขี้เหล็กเทศ คือ ใช้บำรุงร่างกาย  รักษาแผลในหู เป็นยาเย็น แก้ไข้มาลาเรีย เป็นยาขับปัสสาวะ ฆ่าเชื้อโรค รักษาโรคทางเดินปัสสาวะและนิ่ว รักษาโรคหนองใน รักษาโรคหัวใจ ใช้ลดความดันโลหิต เป็นยาแก้วิงเวียน รักษาอาการตาบวมแดง เป็นยาแก้ตาแดงตาอักเสบ แก้ไอ หอบหืด แก้ร้อนในปาก ยาบำรุงกระเพาะอาหาร แก้ปวดกระเพาะอาหาร ช่วยรักษาระบบการย่อยอาหารไม่ดี แก้ปวดกระเพาะอาหาร ใช้รักษาโรคเบาหวาน แก้ปวดหัว แก้ปวดฟัน ยาลดไข้ เป็นยาถ่าย ยาระบาย เป็นยาถ่ายพยาธิ รักษาโรคผิวหนัง ใช้ทารักษากลากเกลื้อน ผิวหนังพุพอง โรคผิวหนังอักเสบ โรคผิวหนังต่าง ๆ ใช้เป็นยาถอนพิษจากแมลงสัตว์กัดต่อย

ต้นแลใบของขี้เหล็กเทศเป็นอาหารสัตว์ชั้นยอด เหมาะแก่การให้ โคและกระบือรับประทานเป็นอาหารเสริม เนื่องจากขี้เหล็กเทศ มีทั้ง โปรตีน ใยอาหาร ไขมัน คาร์โบไฮเดรต หรือนำมาทำปุ๋ยก็เป็นแหล่งโพแทสเซียมชั้นดี

จากข้อมูลทางเภสัชศาสตร์ได้ศีกษาขี้เหล็กเทศ พบว่าในขี้เหล็กเทศมีสาร เช่น Aloe-emodin, Cassiollin, Chrysophanol, Dianthronie heteroside, Emodin, Homodianthrone, Islandicin, N-methylmorpholine alkaloid, Physcion, Physcion-l-glycoside, Physcion homodianthrone, Toxalbulmin, Rhein, กรดอะมิโน, น้ำมันหอมระเหย แต่มีงานวิจัย พบสารที่สกัดจากใบและเปลือกของขี้เหล็กเทศ ช่วยลดความดันโลหิต ช่วยกระตุ้นหัวใจ และฆ่าได้ มีฤทธิ์ขับปัสสาวะ กระตุ้นลำไส้ ช่วยในการขับถ่าย มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย

ลักษณะของต้นขี้เหล็กเทศ

ต้นขี้เหล็กเทศ เป็น พืชล้มลุก อายุยืน ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด เจริญเติบโตได้ดีในดินทุกชนิด ลักษณะของต้นขี้เหล็กเทศ มีดังนี้

  • ลำต้นของขี้เหล็กเทศ ความสูงไม่เกิน 2 เมตร ลำต้นสีเขียว เจริญเติบโตได้ดีในดินทุกชนิด
  • ใบของต้นขี้เหล็กเทศ เป็นใบประกอบ แบบขนนกปลายคู่
  • ดอกต้นขี้เหล็กเทศ ออกเป็นช่อจะออกตามปลายกิ่ง
  • ผลของต้นขี้เหล็กเทศ มีลักษณะเป็นฝัก ฝักอ่อนเป็นสีเขียว ส่วนฝักแก่เป็นน้ำตาล

สรรพคุณของขี้เหล็กเทศ

การนำเอาขี้เหล็กเทศมาใช้ประโยชน์ทางสมุนไพร ต้องระมัดระวังการใช้งาน เนื่องจากตัวขี้เหล็กเทศ มีพิษ ซึ่งพิษของขี้เหล็กเทศจะเป็นพิษต่อกระเพาะอาหาร ต่อตับ ระบบเลือด หัวใจ ปอดและลำไส้ได้ โดยประโยชน์ของขี้เหล็กเทศ สามารถนำมาใช้ได้ทั้ง เมล็ด เปลือก รากและใบ โดยรายละเอียด ดังนี้

  • รากของขี้เหล็กเทศ ใช้บำรุงร่างกาย  รักษาแผลในหู เป็นยาเย็นดับพิษร้อนในร่างกาย แก้ไข้มาลาเรีย เป็นยาขับปัสสาวะ ฆ่าเชื้อโรค รักษาโรคทางเดินปัสสาวะและนิ่ว รักษาโรคหนองใน
  • เมล็ดของขี้เหล็กเทศ ใช้บำรุงธาตุ รักษาโรคหัวใจ ใช้ลดความดันโลหิต เป็นยาแก้วิงเวียน รักษาอาการตาบวมแดง เป็นยาแก้ตาแดงตาอักเสบ แก้ไอหอบหืด แก้ร้อนในปาก ยาบำรุงกระเพาะอาหาร แก้ปวดกระเพาะอาหาร ช่วยรักษาระบบการย่อยอาหารไม่ดี ยาบำรุงกระเพาะอาหาร แก้ปวดกระเพาะอาหาร ช่วยรักษาระบบการย่อยอาหารไม่ดี
  • เปลือกของขี้เหล็กเทศ ใช้รักษาโรคเบาหวาน รักษาไข้มาลาเรีย รักษาโรคหนองใน
  • ใบของขี้เหล็กเทศ ใช้ แก้ปวดหัว แก้ปวดฟัน รักษาอาการตาบวมแดง เป็นยาแก้ตาแดงตาอักเสบ ยาลดไข้ แก้ไอหอบหืด แก้ร้อนในปาก ยาบำรุงกระเพาะอาหาร แก้ปวดกระเพาะอาหาร ช่วยรักษาระบบการย่อยอาหารไม่ดี เป็นยาถ่าย ยาระบาย เป็นยาถ่ายพยาธิ รักษาโรคหนองใน เป็นยารักษาโรคผิวหนัง ใช้ทารักษากลากเกลื้อน ผิวหนังพุพอง โรคผิวหนังอักเสบ โรคผิวหนังต่าง ๆ ใช้เป็นยาถอนพิษ ใช้รักษาแมลงสัตว์กัดต่อย

ข้อควรระวังในการใช้ประโยชน์จากขี้หล็กเทศ

เนื่องจากขี้เหล็กเทศมีพิษ ซึ่งต้องกำจัดพิษของขีเหล็กเทศก่อน โดยพิษของขี้เหล็กเทศมีโปรตีนที่เป็นพิษ โดยการกำจัดพิษ สามารถทำได้โดยการนำเมล็ดไปคั่วจนเป็นสีน้ำตาลและมีกลิ่นหอมเสียก่อน หากไม่กำจัดพิษ หรือกำจัดพิษไม่หมด จะมีอาการอาเจียนและท้องร่วงอย่างรุนแรง ให้รีบล้างท้องและนำส่งแพทย์โดยด่วน

ขี้เหล็กเทศ ( Coffea senna ) พืชตระกูลถั่ว สมุนไพร ประโยชน์ของขี้เหล็กเทศ สรรพคุณของขี้เหล็กเทศ บำรุงร่างกาย รักษาแผลในหู เป็นยาเย็น แก้ไข้มาลาเรีย ขับปัสสาวะ รักษาโรคทางเดินปัสสาวะและนิ่ว รักษาโรคหนองใน ลดความดันโลหิต ลักษณะของต้นขี้เหล็กเทศ

เงาะ ( Rambutan ) ผลไม้แสนอร่อย พืชเศรษฐกิจ สมุนไพร ประโยชน์และสรรพคุณช่วยบำรุงผิวพรรณ รักษาอาการอักเสบ แก้ท้องร่วง ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์

เงาะ สมุนไพร สมุนไพรไทย สรรพคุณของเงาะ

เงาะ ( Rambutan ) ชื่อวิทยาศาสตร์ของเงาะ คือ Nephelium lappaceum L. ผลไม้ สมุนไพร ประโยชน์ของเงาะ สรรพคุณของเงาะ ช่วยบำรุงผิวพรรณ รักษาอาการอักเสบในช่องปาก แก้ท้องร่วง เป็นยาแก้อักเสบ ช่วยฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ใช้ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์ ชื่อเรียกอื่นๆของเงาะ เช่น เงาะป่า พรวน กะเมาะแต มอแต อาเมาะแต เป็นต้น

เงาะ ผลไม้ เป็น สมุนไพร มีสรรพคุณ ช่วยบำรุงผิวพรรณ รักษาอาการอักเสบในช่องปาก แก้ท้องร่วง เป็นยาแก้อักเสบ ช่วยฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ใช้ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์ เป็นต้น

เงาะ ภาษาอังกฤษ เรียกว่า Rambutan ชื่อวิทยาศาสตร์ของเงาะ คือ Nephelium lappaceum L. เงาะมีชื่อเรียกอื่นๆ เช่น เงาะป่า พรวน กะเมาะแต มอแต อาเมาะแต เป็นต้น เงาะเป็นผลไม้ที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศอินโดนีเซียและมาเลเซีย เป็นพืชเขตร้อน ในประเทศไทย ปลูกมากในภาคตะวันออกและภาคใต้ ซึ่งสายพันธุ์ที่ปลูกในประเทศไทย เช่น พันธุ์โรงเรียน พันธุ์สีทอง พันธุ์สีชมพู เป็นต้น

คุณค่าทางโภชนาการของเงาะ

สำหรับการรับประทานเงาะ นิยมรับประทานเนื้อของผลเงาะ ซึ่งนักโภชนาการได้ศึกษาคุณค่าทางโภชนาการของเงาะ ขนาด 100 กรัม พบว่าให้พลังงาน 82 กิโลแคลอรี่ มีสารอาหารสำคัญ ประกอบด้วย คาร์โบไฮเดรต 20.87 กรัม กากใยอาหาร 0.21 กรัม ไขมัน 0.65 กรัม โปรตีน 2.5 กรัม วิตามินบี1 0.013 มิลลิกรัม วิตามินบี2 0.022 มิลลิกรัม วิตามินบี3 1.352 มิลลิกรัม วิตามินบี6 0.02 มิลลิกรัม วิตามินบี9 8 ไมโครกรัม วิตามินซี 4.9 มิลลิกรัม ธาตุแคลเซียม 22 มิลลิกรัม ธาตุเหล็ก 0.35 มิลลิกรัม ธาตุแมกนีเซียม 7 มิลลิกรัม ธาตุแมงกานีส 0.343 มิลลิกรัม ธาตุฟอสฟอรัส 9 มิลลิกรัม ธาตุโพแทสเซียม 42 มิลลิกรัม ธาตุสังกะสี 0.08 มิลลิกรัม

สรรพคุณของเงาะ

สำหรับการใช้ประโยชน์จากเงาะ ด้านการบำรุงร่างกายและการรักษาโรค มักใช้ประโยชน์จากผลเงาะ โดยสรรพคุณของเงาะ มีดังนี้

  • ผลเงาะมีสรรพคุณ ช่วยบำรุงผิวพรรณ รักษาอาการอักเสบในช่องปาก แก้ท้องร่วง เป็นยาแก้อักเสบ ช่วยฆ่าเชื้อแบคทีเรีย ใช้ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์

โทษของเงาะ

สำหรับการรับประทานเงาะ เป็นอาหาร และ ใช้ในการรักษาโรค มีข้อควรระวังในการใช้ประโยชน์จากเงาะ ดังนี้

  • เนื้อเงาะ มีสารเคมีสำคัญ คือ สารแทนนิน ( Tannin ) สรรพคุณช่วยยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ในกระเพาะอาหาร หากกินเงาะมากเกินไปทำให้ท้องผูกได้
  • เมล็ดของเงาะ มีความพิษไม่ควรรับประทานเมล็ดเงาะ อาจทำให้เกิดอาการปวดหัว คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง และ มีไข้ได้

เงาะ เป็น ผลไม้ ที่มีรสหวานอมเปรี้ยว การกินเงาะช่วยแก้ท้องร่วงได้ผลดี และหากนำเงาะมาต้ม น้ำจากเงาะสามารถใช้เป็นยาแก้อักเสบ ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย และรักษาอาการอักเสบในช่องปากได้ แต่ถ้ารับประทานมากเกินไป อาจทำให้ ปวดท้อง เวียนหัว มีไข้ คลื่นไส้ อาเจียน ได้ ในเงาะมีสารชนิดหนึ่ง ชื่อว่าสารแทนนิน ซึ่งสารนี้สามารถ ช่วยยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ ใช้บำบัดน้ำเสีย ฟอกหนัง ย้อมผ้า ใช้ป้องกันแมลง ทำกาว เป็นต้น แต่สารแทนนิน ก็มีโทษ คือ สารนี้จะยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ในกระเพาะอาหาร จะทำให้ท้องอืด หรือท้องผูก

สรรพคุณเด่นของเงาะ คือ ใช้รักษาการอักเสบในช่องปาก ซึ่งสมุนไพรอื่นๆที่ใช่ดูแลปาก เหงือกและฟัน มีอีกมากมาย เราจึงขอแนะนำสมุนไพรที่ช่วยบำรุงช่องปาก อื่นๆ ดังนี้

เก๋ากี้ สมุนไพร โกจิเบอร์รี่ สรรพคุณของโกจิเบอร์รี่เก๋ากี้ โกจิเบอร์รี่ ลูกสมอไทย สมอไทย ราชาสมุนไพร สมุนไพรไทยสมอไทย
ยางนา น้ำมันยางนา สมุนไพร สรรพคุณของยางนายางนา ถั่วเขียว ถั่วงอก ธัญพืช สมุนไพรถั่วเขียว
ชุมเห็ดเทศ ต้นชุมเห็ดเทศ สรรพคุณของชุมเห็ดเทศ สมุนไพรชุมเห็ดเทศ มะกอก สรรพคุณของมะกอก น้ำมันมะกอก โทษของมะกอกมะกอก

เงาะ ( Rambutan ) ผลไม้ สมุนไพร ประโยชน์ของเงาะ สรรพคุณของเงาะ ช่วยบำรุงผิวพรรณ รักษาอาการอักเสบ แก้ท้องร่วง ยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อจุลินทรีย์ ชื่อเรียกอื่นๆของเงาะ เช่น เงาะป่า พรวน กะเมาะแต มอแต อาเมาะแต เป็นต้น


ขายถุงกระสอบ ถุงสายรุ้ง ย้ายหอ ย้ายบ้าน ต้องการถุงกระสอบ ถุงกระสอบราคาโรงงาน
ติดต่อ ทรัพย์ทวี Line Id : nongnlove