ขับพยาธิ ความรู้ใน 300 สมุนไพรและโรคต่างๆ https://beezab.com เว็บสุขภาพ Tue, 26 Mar 2024 03:16:22 +0000 en-US hourly 1 https://wordpress.org/?v=6.4.4 มะระ สมุนไพร หวานเป็นลมขมเป็นยา สรรพคุณหลากหลาย https://beezab.com/%e0%b8%a1%e0%b8%b0%e0%b8%a3%e0%b8%b0-%e0%b8%aa%e0%b8%a1%e0%b8%b8%e0%b8%99%e0%b9%84%e0%b8%9e%e0%b8%a3/ Tue, 09 Feb 2021 03:08:02 +0000 https://beezab.com/?p=16181 มะระ สมุนไพร พืชสวนครัว นิยมรับประทานผลมะระเป็นอาหาร ลักษณะของต้นมะระเป็นอย่างไร สรรพคุณของมะระ ช่วยเจริญอาหาร ขับลม รักษาเบาหวาน สำหรับโทษของมะระมีอะไรบ้าง ต้นมะระ ภาษาอังกฤษ เรียก Bitter melon ชื่อวิทยาศาสตร์ของมะระ คือ Momordica charantia L. สำหรับชื่อเรียกอื่นๆของมะระ เช่น ผักเหย ผักไห มะร้อยรู มะห่อย มะไห่ สุพะซู สุพะเด เป็นต้น ผลมะระมีรสขมเป็นเอกลักษณ์ มีถิ่นกำเนิดในประเทศเขตร้อนของทวีปเอเชียและแอฟริกา  มะระมีการปลูกกันในหลายประเทศ เช่น จีน อินเดีย พม่า ไทย และเวียดนาม เป็นต้น สำหรับประเทศไทยนิยมปลูกมากในภาคเหนือ มะระอยู่คู่กับสังคมและครัวเรือนของท้องถิ่นไทยมาอย่างช้านาน เป็นพืชตระกูลเดียวกับ ฟัก แตงกวาและบวบ นิยมนำผลดิบมารับประทานเป็นอาหาร มีเมนูอาหารหลากหลายที่มีมะระเป็นส่วนประกอบ เช่น แกงจืดมะระหมูสับ ยำมะระกุ้งสด มะระผัดไข่ หรือทานเป็นผักสดกับน้ำพริก เป็นต้น ความขมของมะระมาจากสาร Momodicine เป็นสารที่มีประโยชน์ช่วยกระตุ้นความอยากกินอาหาร ช่วยกระตุ้นน้ำย่อย และเป็นยาระบายอ่อนๆ แต่การนำมะระมารับประทาน ไม่ควรรับประทานผลมะระสุก เนื่องจากอาจทำให้อาเจียนได้ ประโยชน์ของมะระ รากเป็นยาบำรุง ใช้สมานแผลได้ เถาเป็นยาระบายอ่อนๆ ช่วยเจริญอาหาร ใบช่วยดับพิษร้อน ขับพยาธิ ขับลม ผลมะระใช้ขับลม แก้อักเสบ ขับพยาธิ เจริญอาหาร สำหรับด้านการแพทย์แผนปัจจุบัน มีการศึกษาวิจัยมะระ พบว่า มะระมีฤทธิ์ต้านเบาหวาน ช่วยระบาย และฆ่าเชื้อ การแพทย์ทางเลือกของสหรัฐอเมริกานำน้ำคั้นจากผลมะระ ใช้รักษาระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวาน มะระในประเทศไทย สำหรับประเทศไทย มะระเป็นพืชท้องถิ่นทั่วไป นิยมปลูกตามรั่วบ้าน นำมาประกอบอาหาร โดยนิยมรับประทาน ผลมะระ และ ยอดอ่อนมะระ มะระปลูกมากในภาคเหนือ แต่ก็สามารถพบได้ทั่วไปในทุกภูมิภาคของประเทศไทย ซึ่งมะระที่นิยมปลูกในประเทศไทย มีอยู่ 2 สายพันธ์ คือ มะระขี้นก และ มะระจีน รายละเอียดของมะระแต่ละสายพันธ์ มีดังนี้ มะระจีน ผลขนาดใหญ่ สีเขียว ผิวเรียบเป็นมันลักษณะผิวเป็นร่องไม่เรียบ ให้เนื้อผลมาก นิยมนำมาทำอาหารหลากหลายเมนูอาหาร เช่น ต้มจืด ผัดมะระ รวมถึงรับประทานผลเป็นผักสด มะระขี้นก ผลขนาดเล็ก ให้รสชาติขมมาก นิยมนำมารับประทานผลมะระขี้นกเป็นผักสด การเลือกซื้อมะระ การเลือกซื้อมะระที่ให้ความขมไม่มาก ควรเลือกผลที่มีสีเขียวอ่อน อวบ และมีลายห่าง ๆ เพราะ จะขมน้อยกว่าผลที่มีสีเขียวเข้มและลายถี่ และก่อนนำมะระไปปรุงอาหาร ให้ผ่าแล้วเอาเมล็ดและไส้ในออกจนหมด จากนั้นหั่นแล้วนำไปแช่น้ำเกลือสักพัก จะช่วยให้มะระลดความขมลงได้

The post มะระ สมุนไพร หวานเป็นลมขมเป็นยา สรรพคุณหลากหลาย first appeared on 300 สมุนไพร และ โรค เรื่องสุขภาพน่ารู้มีอะไรบ้าง.

]]>
มะระ สมุนไพร พืชสวนครัว นิยมรับประทานผลมะระเป็นอาหาร ลักษณะของต้นมะระเป็นอย่างไร สรรพคุณของมะระ ช่วยเจริญอาหาร ขับลม รักษาเบาหวาน สำหรับโทษของมะระมีอะไรบ้างมะระ สมุนไพร สรรพคุณของมะระ สมุนไพรไทย

ต้นมะระ ภาษาอังกฤษ เรียก Bitter melon ชื่อวิทยาศาสตร์ของมะระ คือ Momordica charantia L. สำหรับชื่อเรียกอื่นๆของมะระ เช่น ผักเหย ผักไห มะร้อยรู มะห่อย มะไห่ สุพะซู สุพะเด เป็นต้น ผลมะระมีรสขมเป็นเอกลักษณ์ มีถิ่นกำเนิดในประเทศเขตร้อนของทวีปเอเชียและแอฟริกา  มะระมีการปลูกกันในหลายประเทศ เช่น จีน อินเดีย พม่า ไทย และเวียดนาม เป็นต้น สำหรับประเทศไทยนิยมปลูกมากในภาคเหนือ

มะระอยู่คู่กับสังคมและครัวเรือนของท้องถิ่นไทยมาอย่างช้านาน เป็นพืชตระกูลเดียวกับ ฟัก แตงกวาและบวบ นิยมนำผลดิบมารับประทานเป็นอาหาร มีเมนูอาหารหลากหลายที่มีมะระเป็นส่วนประกอบ เช่น แกงจืดมะระหมูสับ ยำมะระกุ้งสด มะระผัดไข่ หรือทานเป็นผักสดกับน้ำพริก เป็นต้น ความขมของมะระมาจากสาร Momodicine เป็นสารที่มีประโยชน์ช่วยกระตุ้นความอยากกินอาหาร ช่วยกระตุ้นน้ำย่อย และเป็นยาระบายอ่อนๆ แต่การนำมะระมารับประทาน ไม่ควรรับประทานผลมะระสุก เนื่องจากอาจทำให้อาเจียนได้

ประโยชน์ของมะระ รากเป็นยาบำรุง ใช้สมานแผลได้ เถาเป็นยาระบายอ่อนๆ ช่วยเจริญอาหาร ใบช่วยดับพิษร้อน ขับพยาธิ ขับลม ผลมะระใช้ขับลม แก้อักเสบ ขับพยาธิ เจริญอาหาร สำหรับด้านการแพทย์แผนปัจจุบัน มีการศึกษาวิจัยมะระ พบว่า มะระมีฤทธิ์ต้านเบาหวาน ช่วยระบาย และฆ่าเชื้อ การแพทย์ทางเลือกของสหรัฐอเมริกานำน้ำคั้นจากผลมะระ ใช้รักษาระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยโรคเบาหวาน

มะระในประเทศไทย

สำหรับประเทศไทย มะระเป็นพืชท้องถิ่นทั่วไป นิยมปลูกตามรั่วบ้าน นำมาประกอบอาหาร โดยนิยมรับประทาน ผลมะระ และ ยอดอ่อนมะระ มะระปลูกมากในภาคเหนือ แต่ก็สามารถพบได้ทั่วไปในทุกภูมิภาคของประเทศไทย ซึ่งมะระที่นิยมปลูกในประเทศไทย มีอยู่ 2 สายพันธ์ คือ มะระขี้นก และ มะระจีน รายละเอียดของมะระแต่ละสายพันธ์ มีดังนี้

  • มะระจีน ผลขนาดใหญ่ สีเขียว ผิวเรียบเป็นมันลักษณะผิวเป็นร่องไม่เรียบ ให้เนื้อผลมาก นิยมนำมาทำอาหารหลากหลายเมนูอาหาร เช่น ต้มจืด ผัดมะระ รวมถึงรับประทานผลเป็นผักสด
  • มะระขี้นก ผลขนาดเล็ก ให้รสชาติขมมาก นิยมนำมารับประทานผลมะระขี้นกเป็นผักสด

การเลือกซื้อมะระ

การเลือกซื้อมะระที่ให้ความขมไม่มาก ควรเลือกผลที่มีสีเขียวอ่อน อวบ และมีลายห่าง ๆ เพราะ จะขมน้อยกว่าผลที่มีสีเขียวเข้มและลายถี่ และก่อนนำมะระไปปรุงอาหาร ให้ผ่าแล้วเอาเมล็ดและไส้ในออกจนหมด จากนั้นหั่นแล้วนำไปแช่น้ำเกลือสักพัก จะช่วยให้มะระลดความขมลงได้

ลักษณะของต้นมะระ

ต้นมะระ เป็นพืชล้มลุก ลักษณะเป็นเถาไม้เลื้อย ตระกูลเดียวกับแตงกวา อายุของมะระเพียงหนึ่งปี สามารถขยายพันธุ์ โดยการเพาระเมล็ดพันธ์ ลักษณะของต้นมะระมีดังนี้

  • ลำต้นของมะระ ลักษณะเป็นเถา ลำต้นกลม สีเขียว มีขนอ่อนๆ ลำต้นมะระจะเกาะตามหลัก ต้นไม้หรือเสา โดยมีรากออกมาตามข้อของลำต้นช่วยในการเกาะจับหลัก
  • ใบของมะระ เป็นใบเดี่ยว สีเขียว ลักษณะใบหยาบมีขนอร่อยๆ ใบเป็นแฉกเว้าลึก 5 แฉก โคนใบกลม ก้านใบยาว
  • ดอกของมะระ ออกดอกเป็นช่อ ลักษณะดอกเดี่ยวออกดอกตามซอกใบ กลีบดอกเป็นสีเหลือง รูปทรงดอกคล้ายรูประฆัง
  • ผลของมะระ ลักษณะยาวรี ผิวเปลือกบาง เรียบ ลักษณะผลเป็นผิวขลุกขละ เป็นหลุมเป็นร่องยาว ผลมีเนื้อหนา ฉ่ำน้ำ ผลดิบมีสีเขียว ส่วนผลสุกจะมีสีแดง
  • เมล็ดมะระ อยู่ในผลมะระ มีเม็ดจพนวนมากในผลมะระ ลักษณะเมล็ดจะแบนรี ปลายเมล็ดแหลมทั้งสองด้าน

คุณค่าทางโภชนาการของมะระ

การรับประทานมะระเป็นอาหาร นิยมรับประทานผลสดของมะระเป็นอาหาร ซึ่งนักโภชนาการได้ศึกษาคุณค่าทางโภชนาการของผลมะระสด ขนาด 100 กรัม พบว่าให้พลังงาน มากถึง 17 กิโลแคลอรี และมีสารอาหารสำคัญ ประกอบด้วย กากใยอาหาร 2.8 กรัม โปรตีน 1 กรัม คาร์โบไฮเดรต 3.7 กรัม ไขมัน 0.17 กรัม ธาตุสังกะสี 0.8 มิลลิกรัม ธาตุแคลเซียม 19 มิลลิกรัม ธาตุทองแดง 0.034 ไมโครกรัม ธาตุเหล็ก 0.43 มิลลิกรัม วิตามินเอ 380 มิลลิกรัม วิตามินB1 0.04 มิลลิกรัม วิตามินB2 0.4 มิลลิกรัม วิตามินB3 0.4 มิลลิกรัม วิตามิน B5 0.212 มิลลิกรัม วิตามินB6 0.043 มิลลิกรัม วิตามินซี 84 มิลลิกรัม แมกนีเซียม 17 มิลลิกรัม แมงกานีส 0.089 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 31 มิลลิกรัม โพแทสเซียม 296 ไมโครกรัม และ โซเดียม 5 มิลลิกรัม

นอกจากนั้นผลมะระยังมีสารฟีนอลหลายชนิด เช่น กรดแกลลิก ( Gallic Acid ) กรดคาเฟอิก ( Caffeic Acid ) และคาเทชิน ( Catechin ) ซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยป้องกันจุดด่างดำตามผิวหนังได้

สรรพคุณของมะระ

สำหรับการใช้ประโยชน์จากมะระ ด้านการบำรุงและการรักษาโรค สามารถใช้ประโยชน์ได้จากผลมะระ เถามะระ เมล็ดมะระ รากมะระและใบมะระ สรรพคุณของมะระ มีดังนี้

  • ผลสุกของมะระ สรรพคุณช่วยรักษาสิว
  • รากของมะระ สรรพคุณช่วยบำรุงร่างการ ช่วยสมานแผล แก้ริดสีดวงทวาร รักษาโรคกระเพาะอาหารอักเสบ แก้อาการปวดท้อง
  • เมล็ดของมะระ สรรพคุณช่วยขับพยาธิตัวกลม ช่วยปรับสมดุลของธาตุในร่างกาย
  • เถาของมะระ สรรพคุณช่วยทำให้ร่างกายเย็น ลดความร้อนในร่างกาย แก้ปวดท้อง
  • ใบสดของมะระ สรรพคุณช่วยห้ามเลือด บำรุงเลือด เป็นยาระบายอ่อน ช่วยเจริญอาหาร แก้กระหายน้ำ ช่วยรักษาหวัด รักษาแผลในกระเพาะอาหาร ลดอาการฟกช้ำ แก้ผดผื่นคัน
  • ผลสดของมะระ สรรพคุณลดน้ำตาลในเลือด รักษาเบาหวาน ป้องกันมะเร็ง บำรุงสายตา บำรุงกระดูกและฟัน ช่วยขับเสมหะ เป็นยาระบายอ่อน บำรุงน้ำดี  แก้ปากเปื่อย
  • ใบแห้งของมะระ สรรพคุณช่วยขับพยาธิ ช่วยขับลม
  • ผลแห้งของมะระ สรรพคุณรักษาโรคผิวหนัง รักษาแผล แก้คัน

โทษของมะระ

สำหรับการรับประทานมะระเป็นอาหาร ใช้เป็นยาบำรุงร่างกาย แต่การรับประทานหรือใช้มะระเป็นยารักษาโรค มีข้อควรระวังในการใช้ประโยชน์ได้ ดังนี้

  • มะระมีสรรพคุณช่วยลดน้ำตาลในเลือด สำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานที่รับประทานยาลดน้ำตาลในเลือด ร่วมกับรับประทานผลมะระอย่างต่อเนื่อง อาจทำให้ร่างกายเกิดภาวะร่างกายขาดน้ำตาล ซึ่งเป็นอันตรายต่อร่างกาย
  • ผลสุกมะระ มีสารซาโปนิน ( Saponin ) มีความเป็นพิษต่อร่างกาย ทำให้เกิดอาการคลื่นไส้อาเจียน เป็นพิษต่อร่างกาย
  • สตรีมีครรภ์ไม่ควรรับประทานมะระ เนื่องสารเคมีในผลหรือเมล็ด อาจทำให้มีเลือดออกระหว่างตั้งครรภ์ ซึ่งอาจทำให้แท้งได้

Beezab.com แหล่งความรู้ด้านสุขภาพ สมุนไพร โรค แม่และเด็ก อาหารเพื่อสุขภาพ โยคะ ธรรมะครูบาอาจารย์ ดูแลตัวเองเบื้องต้นด้วยข้อมูลดีๆ เนื้อหาในเว็บไซต์นี้มีไว้เพื่อการศึกษาหรือเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเท่านั้น เราไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้แทนคำแนะนำทางการแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือ การรักษาโรคแต่อย่างใด หากคุณมีอาการเจ็บป่วยหรือรู้สึกไม่สบาย ควรคำปรึกษาจากแพทย์ เพื่อรับการรักษาอย่างถูกต้อง สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมโปรดดูที่ข้อตกลงและเงื่อนไขการใช้งานของเรา

Beezab.com source of health knowledge, herbs, diseases, mothers and children, healthy food, yoga and Dhamma.  The content on this page is for educational purposes only. We are not intended to be a substitute for medical advice. Diagnosis of disease or treatment of disease in any way If you are sick, You should consult a doctor.

ขอขอบคุณผู้สนับสนุนหลักของเรา ถุงกระสอบทรัพย์ทวี จำหน่ายถุงกระสอบมีซิบ สำหรับย้ายหอย้ายบ้าน ย้ายสำนักงาน มีสินค้าประกอบด้วย ถุงสายรุ้ง ถุงไนลอน ถุงการ์ตูน และ ถุงล้อลาก

The post มะระ สมุนไพร หวานเป็นลมขมเป็นยา สรรพคุณหลากหลาย first appeared on 300 สมุนไพร และ โรค เรื่องสุขภาพน่ารู้มีอะไรบ้าง.

]]>
มะระ พืชรสขม 30 สรรพคุณและโทษของมะระมีอะไรบ้าง https://beezab.com/%e0%b8%a1%e0%b8%b0%e0%b8%a3%e0%b8%b0/ Wed, 20 May 2020 07:40:53 +0000 https://beezab.com/?p=13757 มะระ ( Bitter melon ) พืชรสขม สรรพคุณหลากหลาย สมุนไพรในครัวเรือน ลักษณะของต้นมะระเป็นอย่างไร สรรพคุณของมะระ  เช่น ช่วยเจริญอาหาร ช่วยขับลม โทษของมะระ มีอะไรบ้าง ต้นมะระ ภาษาอังกฤษ เรียก Bitter melon ซึ่งชื่อวิทยาศาสตร์ของมะระ คือ Momordica charantia L. และ ชื่อเรียกอื่นๆของต้นมะระแตกต่างกันออกไปตามแต่ละท้องถิ่น เช่น  ผักเหย ผักไห มะร้อยรู มะห่อย มะไห่ สุพะซู สุพะเด เป็นต้น มะระขึ้นชื่อในเรื่องของความขม ความขมของมะระมาจากสาร Momodicine ซึ่งสารชนิดนี้ มีประโยชน์ช่วยกระตุ้นความรู้สึกอยากกินอาหาร ช่วยกระตุ้นน้ำย่อย และเป็นยาระบายอ่อนๆ แต่การรับประทานมะระไม่ควรรับประทานมะระสุก เนื่องจากอาจทำให้อาเจียนได้ มะระอยู่คู่กับสังคมและครัวเรือนของท้องถิ่นไทยมาอย่างช้านาน เป็นพืชตระกูลเดียวกับ ฟัก แตงกวาและบวบ นิยมนำผลดิบมารับประทานเป็นอาหาร หลากหลาย เช่น แกงจืดมะระหมูสับ ทานเป็นผักสดกับน้ำพริก เป็นต้น มะระในประเทศไทย สำหรับประเทศไทย มะระเป็นพืชท้องถิ่นทั่วไป นิยมปลูกตามรั่วบ้าน นำมาประกอบอาหาร โดยนิยมรับประทาน ผลมะระ และ ยอดอ่อนมะระ มะระปลูกมากในภาคเหนือ แต่ก็สามารถพบได้ทั่วไปในทุกภูมิภาคของประเทศไทย ซึ่งมะระที่นิยมปลูกในประเทศไทย มีอยู่ 2 สายพันธ์ คือ มะระขี้นก และ มะระจีน รายละเอียดของมะระแต่ละสายพันธ์ มีดังนี้ มะระขี้นก ผลขนาดเล็ก ให้รสชาติขมมาก นิยมนำมารับประทานผลมะระขี้นกเป็นผักสด มะระจีน ผลขนาดใหญ่ สีเขียว ผิวเรียบเป็นมันลักษณะผิวเป็นร่องไม่เรียบ ให้เนื้อผลมาก นิยมนำมาทำอาหารหลากหลายเมนูอาหาร เช่น ต้มจืด ผัดมะระ รวมถึงรับประทานผลเป็นผักสด ลักษณะของต้นมะระ ต้นมะระ เป็นพืชล้มลุก ลักษณะเป็นเถาไม้เลื้อย ตระกูลเดียวกับแตงกวา อายุของมะระเพียงหนึ่งปี สามารถขยายพันธุ์ โดยการเพาระเมล็ดพันธ์ ลักษณะของต้นมะระมีดังนี้ ลำต้นของมะระ ลักษณะเป็นเถา ลำต้นกลม สีเขียว มีขนอ่อนๆ ลำต้นมะระจะเกาะตามหลัก ต้นไม้หรือเสา โดยมีรากออกมาตามข้อของลำต้นช่วยในการเกาะจับหลัก ใบของมะระ เป็นใบเดี่ยว สีเขียว ลักษณะใบหยาบมีขนอร่อยๆ ใบเป็นแฉกเว้าลึก 5 แฉก โคนใบกลม ก้านใบยาว ดอกของมะระ ออกดอกเป็นช่อ ลักษณะดอกเดี่ยวออกดอกตามซอกใบ กลีบดอกเป็นสีเหลือง รูปทรงดอกคล้ายรูประฆัง ผลของมะระ ลักษณะยาวรี

The post มะระ พืชรสขม 30 สรรพคุณและโทษของมะระมีอะไรบ้าง first appeared on 300 สมุนไพร และ โรค เรื่องสุขภาพน่ารู้มีอะไรบ้าง.

]]>
มะระ ( Bitter melon ) พืชรสขม สรรพคุณหลากหลาย สมุนไพรในครัวเรือน ลักษณะของต้นมะระเป็นอย่างไร สรรพคุณของมะระ  เช่น ช่วยเจริญอาหาร ช่วยขับลม โทษของมะระ มีอะไรบ้าง

มะระ สมุนไพร สรรพคุณของมะระ พืชสวนครัว

ต้นมะระ ภาษาอังกฤษ เรียก Bitter melon ซึ่งชื่อวิทยาศาสตร์ของมะระ คือ Momordica charantia L. และ ชื่อเรียกอื่นๆของต้นมะระแตกต่างกันออกไปตามแต่ละท้องถิ่น เช่น  ผักเหย ผักไห มะร้อยรู มะห่อย มะไห่ สุพะซู สุพะเด เป็นต้น

มะระขึ้นชื่อในเรื่องของความขม ความขมของมะระมาจากสาร Momodicine ซึ่งสารชนิดนี้ มีประโยชน์ช่วยกระตุ้นความรู้สึกอยากกินอาหาร ช่วยกระตุ้นน้ำย่อย และเป็นยาระบายอ่อนๆ แต่การรับประทานมะระไม่ควรรับประทานมะระสุก เนื่องจากอาจทำให้อาเจียนได้ มะระอยู่คู่กับสังคมและครัวเรือนของท้องถิ่นไทยมาอย่างช้านาน เป็นพืชตระกูลเดียวกับ ฟัก แตงกวาและบวบ นิยมนำผลดิบมารับประทานเป็นอาหาร หลากหลาย เช่น แกงจืดมะระหมูสับ ทานเป็นผักสดกับน้ำพริก เป็นต้น

มะระในประเทศไทย

สำหรับประเทศไทย มะระเป็นพืชท้องถิ่นทั่วไป นิยมปลูกตามรั่วบ้าน นำมาประกอบอาหาร โดยนิยมรับประทาน ผลมะระ และ ยอดอ่อนมะระ มะระปลูกมากในภาคเหนือ แต่ก็สามารถพบได้ทั่วไปในทุกภูมิภาคของประเทศไทย ซึ่งมะระที่นิยมปลูกในประเทศไทย มีอยู่ 2 สายพันธ์ คือ มะระขี้นก และ มะระจีน รายละเอียดของมะระแต่ละสายพันธ์ มีดังนี้

  • มะระขี้นก ผลขนาดเล็ก ให้รสชาติขมมาก นิยมนำมารับประทานผลมะระขี้นกเป็นผักสด
  • มะระจีน ผลขนาดใหญ่ สีเขียว ผิวเรียบเป็นมันลักษณะผิวเป็นร่องไม่เรียบ ให้เนื้อผลมาก นิยมนำมาทำอาหารหลากหลายเมนูอาหาร เช่น ต้มจืด ผัดมะระ รวมถึงรับประทานผลเป็นผักสด

ลักษณะของต้นมะระ

ต้นมะระ เป็นพืชล้มลุก ลักษณะเป็นเถาไม้เลื้อย ตระกูลเดียวกับแตงกวา อายุของมะระเพียงหนึ่งปี สามารถขยายพันธุ์ โดยการเพาระเมล็ดพันธ์ ลักษณะของต้นมะระมีดังนี้

  • ลำต้นของมะระ ลักษณะเป็นเถา ลำต้นกลม สีเขียว มีขนอ่อนๆ ลำต้นมะระจะเกาะตามหลัก ต้นไม้หรือเสา โดยมีรากออกมาตามข้อของลำต้นช่วยในการเกาะจับหลัก
  • ใบของมะระ เป็นใบเดี่ยว สีเขียว ลักษณะใบหยาบมีขนอร่อยๆ ใบเป็นแฉกเว้าลึก 5 แฉก โคนใบกลม ก้านใบยาว
  • ดอกของมะระ ออกดอกเป็นช่อ ลักษณะดอกเดี่ยวออกดอกตามซอกใบ กลีบดอกเป็นสีเหลือง รูปทรงดอกคล้ายรูประฆัง
  • ผลของมะระ ลักษณะยาวรี ผิวเปลือกบาง เรียบ ลักษณะผลเป็นผิวขลุกขละ เป็นหลุมเป็นร่องยาว ผลมีเนื้อหนา ฉ่ำน้ำ ผลดิบมีสีเขียว ส่วนผลสุกจะมีสีแดง
  • เมล็ดมะระ อยู่ในผลมะระ มีเม็ดจพนวนมากในผลมะระ ลักษณะเมล็ดจะแบนรี ปลายเมล็ดแหลมทั้งสองด้าน

คุณค่าทางโภชนาการของมะระ

มะระมีสารฟีนอลหลายชนิด เช่น กรดแกลลิก ( Gallic Acid ) กรดคาเฟอิก ( Caffeic Acid ) และคาเทชิน ( Catechin ) ซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยป้องกันจุดด่างดำตามผิวหนังได้

ผลมะระจีน มีสารสำคัญหลายชนิด เช่น แคแรนทิน ( charantin ) โพลีเปปไทด์ พี ( p-insulin ) และ วิซิน ( vicine ) ซึ่งมีฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือด

รสขมของมะระ มาจากสารเคมี ที่มีชื่อว่า Momodicine สารชนิดนี้ มีประโยชน์ช่วยกระตุ้นความรู้สึกทำให้อยากกินอาหาร ช่วยให้น้ำย่อยในกระเพาะอาหารทำงานได้มีประสิทธิภาพ เป็นยาระบายอย่างอ่อนๆ

สำหรับมะระ นิยมรับประทานมะระส่วนของผลสด ซึ่งนักโภชนาการได้ศึกษาคุณค่าทางโภชนาการของผลมะระ ขนาด 100 กรัม พบว่าให้พลังงาน มากถึง 17 กิโลแคลอรี และมีสารอาหารสำคัญมากมายหลากหลาย ประกอบด้วย กากใยอาหาร 2.8 กรัม โปรตีน 1 กรัม คาร์โบไฮเดรต 3.7 กรัม ไขมัน 0.17 กรัม วิตามินเอ 380 มิลลิกรัม วิตามินB1 0.04 มิลลิกรัม วิตามินB2 0.4 มิลลิกรัม วิตามินB3 0.4 มิลลิกรัม วิตามิน B5 0.212 มิลลิกรัม วิตามินB6 0.043 มิลลิกรัม วิตามินซี 84 มิลลิกรัม ธาตุสังกะสี 0.8 มิลลิกรัม ธาตุแคลเซียม 19 มิลลิกรัม ธาตุทองแดง 0.034 ไมโครกรัม ธาตุเหล็ก 0.43 มิลลิกรัม แมกนีเซียม 17 มิลลิกรัม แมงกานีส 0.089 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 31 มิลลิกรัม โพแทสเซียม 296 ไมโครกรัม และ โซเดียม 5 มิลลิกรัม

สรรพคุณของมะระ

สำหรับการใช้ประโยชน์จากมะระ ด้านการรักษาโรคและการบำรุงร่างกาย สามารถใช้ประโยชน์ได้จาก ผลมะระ เถามระร เมล็ดมะระ รากมะระ ใบมะระ สรรพคุณของมะระ มีดังนี้

  • รากของมะระ สรรพคุณช่วยบำรุงร่างการ ช่วยสมานแผล แก้ริดสีดวงทวาร รักษาโรคกระเพาะอาหารอักเสบ แก้อาการปวดท้อง
  • เถาของมะระ สรรพคุณช่วยทำให้ร่างกายเย็น ลดความร้อนในร่างกาย แก้ปวดท้อง
  • เมล็ดของมะระ สรรพคุณช่วยขับพยาธิตัวกลม ช่วยปรับสมดุลของธาตุในร่างกาย
  • ใบสดของมะระ สรรพคุณช่วยห้ามเลือด บำรุงเลือด เป็นยาระบายอ่อน ช่วยเจริญอาหาร แก้กระหายน้ำ ช่วยรักษาหวัด รักษาแผลในกระเพาะอาหาร ลดอาการฟกช้ำ แก้ผดผื่นคัน
  • ใบแห้งของมะระ สรรพคุณช่วยขับพยาธิ ช่วยขับลม
  • ผลสดของมะระ สรรพคุณลดน้ำตาลในเลือด รักษาเบาหวาน ป้องกันมะเร็ง บำรุงสายตา บำรุงกระดูกและฟัน ช่วยขับเสมหะ เป็นยาระบายอ่อน บำรุงน้ำดี  แก้ปากเปื่อย
  • ผลแห้งของมะระ สรรพคุณรักษาโรคผิวหนัง รักษาแผล แก้คัน
  • ผลสุกของมะระ สรรพคุณช่วยรักษาสิว

โทษของมะระ

สำหรับการรับประทานมะระเป็นอาหาร ใช้เป็นยาบำรุงร่างกาย แต่การรับประทานหรือใช้มะระเป็นยารักษาโรค มีข้อควรระวังในการใช้ประโยชน์ได้ ดังนี้

  • ผลสุกมะระ มีสารซาโปนิน ( Saponin ) มีความเป็นพิษต่อร่างกาย ทำให้เกิดอาการคลื่นไส้อาเจียน เป็นพิษต่อร่างกาย
  • มะระมีสรรพคุณช่วยลดน้ำตาลในเลือด สำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานที่รับประทานยาลดน้ำตาลในเลือด ร่วมกับรับประทานผลมะระอย่างต่อเนื่อง อาจทำให้ร่างกายเกิดภาวะร่างกายขาดน้ำตาล ซึ่งเป็นอันตรายต่อร่างกาย
  • สตรีมีครรภ์ไม่ควรรับประทานมะระ เนื่องสารเคมีในผลหรือเมล็ด อาจทำให้มีเลือดออกระหว่างตั้งครรภ์ ซึ่งอาจทำให้แท้งได้

การเลือกซื้อมะระ

การเลือกซื้อมะระที่ให้ความขมไม่มาก ควรเลือกผลที่มีสีเขียวอ่อน อวบ และมีลายห่าง ๆ เพราะ จะขมน้อยกว่าผลที่มีสีเขียวเข้มและลายถี่ และก่อนนำมะระไปปรุงอาหาร ให้ผ่าแล้วเอาเมล็ดและไส้ในออกจนหมด จากนั้นหั่นแล้วนำไปแช่น้ำเกลือสักพัก จะช่วยให้มะระลดความขมลงได้

Beezab.com แหล่งความรู้ด้านสุขภาพ สมุนไพร โรค แม่และเด็ก อาหารเพื่อสุขภาพ โยคะ ธรรมะครูบาอาจารย์ ดูแลตัวเองเบื้องต้นด้วยข้อมูลดีๆ เนื้อหาในเว็บไซต์นี้มีไว้เพื่อการศึกษาหรือเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเท่านั้น เราไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้แทนคำแนะนำทางการแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือ การรักษาโรคแต่อย่างใด หากคุณมีอาการเจ็บป่วยหรือรู้สึกไม่สบาย ควรคำปรึกษาจากแพทย์ เพื่อรับการรักษาอย่างถูกต้อง สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมโปรดดูที่ข้อตกลงและเงื่อนไขการใช้งานของเรา

Beezab.com source of health knowledge, herbsdiseasesmothers and childrenhealthy foodyoga and Dhamma.  The content on this page is for educational purposes only. We are not intended to be a substitute for medical advice. Diagnosis of disease or treatment of disease in any way If you are sick, You should consult a doctor.

The post มะระ พืชรสขม 30 สรรพคุณและโทษของมะระมีอะไรบ้าง first appeared on 300 สมุนไพร และ โรค เรื่องสุขภาพน่ารู้มีอะไรบ้าง.

]]>
มะระ สมุนไพร 20 ประโยชน์และโทษของมะระมีอะไรบ้าง https://beezab.com/%e0%b8%a1%e0%b8%b0%e0%b8%a3%e0%b8%b0-%e0%b8%aa%e0%b8%a1%e0%b8%b8%e0%b8%99%e0%b9%84%e0%b8%9e%e0%b8%a3-%e0%b8%9b%e0%b9%89%e0%b8%ad%e0%b8%87%e0%b8%81%e0%b8%b1%e0%b8%99%e0%b9%82%e0%b8%a3%e0%b8%84/ Mon, 28 Oct 2019 20:23:58 +0000 http://beezab.com/?p=1194 มะระ Bitter melon สมุนไพร ผลมะระมีรสขม นิยมนำมารับประทาน ลักษณะของต้นมระเป็นอย่างไร สรรพคุณของมะระ  เช่น ช่วยป้องกันมะเร็ง ช่วยเจริญอาหาร โทษของมะระ มีอะไรบ้าง ต้นมะระ ( Bitter melon ) ชื่อวิทยาศาสตร์ของมะระ คือ Momordica charantia L. ชื่อเรียกอื่นๆของมะระ เช่น  ผักเหย ผักไห มะร้อยรู มะห่อย มะไห่ สุพะซู สุพะเด เป็นต้น มะระ เป็นพืชล้มลุก อายุเพียงปีเดียว ซึ่งมีถิ่นกำเนิดในประเทศเขตร้อน มีเถาเลื้อยยาวตามพื้นดินหรือตามต้นไม้ เป็นพืชตระกูลเดียวกับ ฟัก แตงกวาและบวบ สรรพคุณของมะระ บำรุงดวงตา บำรุงกระดูก แก้กระหายน้ำ รักษาเบาหวาน บำรุงเลือด ช่วยขับสารพิษ แก้หวัด ลดไข้ ขับเสมหะ เป็นยาระบายอ่อนๆ ขับพยาธิ รักษาผิวหนัง รักษาสิว บำรุงน้ำดี ช่วยสมานแผล ท้องอืด ท้องเฟ้อ ขับลม มะระในประเทศไทย สำหรับมะระในประเทศไทย นิยมปลูกมะระตามรั่วบ้าน เพื่อรับประทานผลมะระ และ ยอดอ่อนมะระเป็นอาหาร ในประเทศไทยมีปลูกมากในภาคเหนือ ซึ่งมะระ ที่พบเห็นได้ทั่วไปในประเทศไทย มีอยู่ 2 สายพันธ์ คือ มะระจีน และ มะระขี้นด รายละเอียดของมะระแต่ละสายพันธ์ มีดังนี้ มะระจีน ลักษณะพิเศษ คือ ผลขนาดใหญ่ สีเขียว ผิวขรุขระ เนื้อมาก นิยมนำมาทำอาหาร เช่น ต้มจืด ผัดมะระ เป็นต้น รวมถึงรับประทานเป็นผักสด มะระขี้นก ลักษณะพิเศษ คือ ผลมีขนาดเล็ก รสขมมาก สามารถนำมารับประทานเป็นอาหารรวมถึงทานเป็นผักสดได้ ลักษณะของต้นมะระ ต้นมะระ  เป็น ไม้เถา พืชตระกุลเดียวกับแตง พืชล้มลุกที่มีอายุเพียงปีเดียว การขยายพันธุ์ของมะระ จะขยายพันธ์โดยใช้เมล็ด ลักษณะของต้นมะระ มีลักษณะดังนี้ ลำต้นมะระ เป็นเถา ลำต้นเป็นเหลี่ยม สีเขียว มีขนเ และลำต้นจะสามารถเกาะตามต้นไม้หรือเสาได้โดยใช้รากเป็นตัวเกาะ ใบมะระ ลักษณะเป็นใบเดี่ยว ในเป็นแฉกเว้าลึก 5 แฉก โคนใบกลม ก้านใบยาว ใบสีเขียว มีขนสากๆ ดอกมะระ ลักษณะดอกเป็นดอกเดี่ยว ออกดอกตามซอกใบ ลักษณะคล้ายรูประฆัง กลีบดอกสีเหลือง ก้านดอกยาว ผลมะระ

The post มะระ สมุนไพร 20 ประโยชน์และโทษของมะระมีอะไรบ้าง first appeared on 300 สมุนไพร และ โรค เรื่องสุขภาพน่ารู้มีอะไรบ้าง.

]]>
มะระ Bitter melon สมุนไพร ผลมะระมีรสขม นิยมนำมารับประทาน ลักษณะของต้นมระเป็นอย่างไร สรรพคุณของมะระ  เช่น ช่วยป้องกันมะเร็ง ช่วยเจริญอาหาร โทษของมะระ มีอะไรบ้าง

มะระ สมุนไพร พืชสวนครัว สรรพคุณของมะระ

ต้นมะระ ( Bitter melon ) ชื่อวิทยาศาสตร์ของมะระ คือ Momordica charantia L. ชื่อเรียกอื่นๆของมะระ เช่น  ผักเหย ผักไห มะร้อยรู มะห่อย มะไห่ สุพะซู สุพะเด เป็นต้น มะระ เป็นพืชล้มลุก อายุเพียงปีเดียว ซึ่งมีถิ่นกำเนิดในประเทศเขตร้อน มีเถาเลื้อยยาวตามพื้นดินหรือตามต้นไม้ เป็นพืชตระกูลเดียวกับ ฟัก แตงกวาและบวบ สรรพคุณของมะระ บำรุงดวงตา บำรุงกระดูก แก้กระหายน้ำ รักษาเบาหวาน บำรุงเลือด ช่วยขับสารพิษ แก้หวัด ลดไข้ ขับเสมหะ เป็นยาระบายอ่อนๆ ขับพยาธิ รักษาผิวหนัง รักษาสิว บำรุงน้ำดี ช่วยสมานแผล ท้องอืด ท้องเฟ้อ ขับลม

มะระในประเทศไทย

สำหรับมะระในประเทศไทย นิยมปลูกมะระตามรั่วบ้าน เพื่อรับประทานผลมะระ และ ยอดอ่อนมะระเป็นอาหาร ในประเทศไทยมีปลูกมากในภาคเหนือ ซึ่งมะระ ที่พบเห็นได้ทั่วไปในประเทศไทย มีอยู่ 2 สายพันธ์ คือ มะระจีน และ มะระขี้นด รายละเอียดของมะระแต่ละสายพันธ์ มีดังนี้

  • มะระจีน ลักษณะพิเศษ คือ ผลขนาดใหญ่ สีเขียว ผิวขรุขระ เนื้อมาก นิยมนำมาทำอาหาร เช่น ต้มจืด ผัดมะระ เป็นต้น รวมถึงรับประทานเป็นผักสด
  • มะระขี้นก ลักษณะพิเศษ คือ ผลมีขนาดเล็ก รสขมมาก สามารถนำมารับประทานเป็นอาหารรวมถึงทานเป็นผักสดได้

ลักษณะของต้นมะระ

ต้นมะระ  เป็น ไม้เถา พืชตระกุลเดียวกับแตง พืชล้มลุกที่มีอายุเพียงปีเดียว การขยายพันธุ์ของมะระ จะขยายพันธ์โดยใช้เมล็ด ลักษณะของต้นมะระ มีลักษณะดังนี้

  • ลำต้นมะระ เป็นเถา ลำต้นเป็นเหลี่ยม สีเขียว มีขนเ และลำต้นจะสามารถเกาะตามต้นไม้หรือเสาได้โดยใช้รากเป็นตัวเกาะ
  • ใบมะระ ลักษณะเป็นใบเดี่ยว ในเป็นแฉกเว้าลึก 5 แฉก โคนใบกลม ก้านใบยาว ใบสีเขียว มีขนสากๆ
  • ดอกมะระ ลักษณะดอกเป็นดอกเดี่ยว ออกดอกตามซอกใบ ลักษณะคล้ายรูประฆัง กลีบดอกสีเหลือง ก้านดอกยาว
  • ผลมะระ ลักษณะยาวรี ผิวเปลือกบาง ผิวผลมะระขรุขระเป็นร่อง มีเนื้อผลหนา ฉ่ำน้ำ ผลดิบมีสีเขียว ผลสุกจะมีสีแดง
  • เมล็ดมะระ ลักษณะเมล็ดแบนรี ปลายเมล็ดแหลมทั้งสองด้าน เมล็ดอยู่ภายในผลจำนวนมาก

คุณค่าทางโภชนาการของมะระ

สำหรับการรับประทานมะระ นิยมรับประทานผลสดของมะระเป็นอาหาร ซึ่งนักโภชนาการได้ศึกษาผลสดมะระจีน ขนาด 100 กรัม พบว่าให้พลังงาน มากถึง 17 กิโลแคลอรี และมีสารอาหารสำคัญ ประกอบด้วย กากใยอาหาร 2.8 กรัม โปรตีน 1 กรัม คาร์โบไฮเดรต 3.7 กรัม ไขมัน 0.17 กรัม วิตามินเอ 380 มิลลิกรัม วิตามินB1 0.04 มิลลิกรัม วิตามินB2 0.4 มิลลิกรัม วิตามินB3 0.4 มิลลิกรัม วิตามิน B5 0.212 มิลลิกรัม วิตามินB6 0.043 มิลลิกรัม วิตามินซี 84 มิลลิกรัม ธาตุสังกะสี 0.8 มิลลิกรัม ธาตุแคลเซียม 19 มิลลิกรัม ธาตุทองแดง 0.034 ไมโครกรัม ธาตุเหล็ก 0.43 มิลลิกรัม แมกนีเซียม 17 มิลลิกรัม แมงกานีส 0.089 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 31 มิลลิกรัม โพแทสเซียม 296 ไมโครกรัม และ โซเดียม 5 มิลลิกรัม

ผลมะระจีน มีสารสำคัญหลายชนิด เช่น แคแรนทิน ( charantin ) โพลีเปปไทด์ พี ( p-insulin ) และ วิซิน ( vicine ) ซึ่งมีฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือด

รสขมของมะระ มาจากสารเคมี ที่มีชื่อว่า Momodicine สารชนิดนี้ มีประโยชน์ช่วยกระตุ้นความรู้สึกทำให้อยากกินอาหาร ช่วยให้น้ำย่อยในกระเพาะอาหารทำงานได้มีประสิทธิภาพ เป็นยาระบายอย่างอ่อนๆ

สรรพคุณของมะระ

สำหรับการใช้ประโยชน์จากมะระ เพื่อการบำรุงร่างกายและการรักษาโรค นั้น สามารถนำมาใช้ประโยชน์ ได้จาก ผล เถา เมล็ด ราก ใบ ซึ่งนำเอาไปใช้ประโยชน์ สรรพคุณของมะระ มีดังนี้

  • รากของมะระ สารารถนำมาใช้ปรุงเป็นยาบำรุง ฝาดสมาน แก้ริดสีดวงทวาร และเป็นยาธาตุ รักษาโรคกระเพาะอาหารช่วยแก้อาการบิด
  • เถาของมะระ ช่วยดับพิษร้อนภายในร่างกาย  ช่วยแก้อาการบิด
  • เมล็ดของมะระ สามารถช่วยปรับสมดุลของธาตุในร่างกาย ช่วยขับพยาธิตัวกลม
  • ใบสดของมะระ มีรสขม นำมาลวก หรือต้มดื่ม สามารถใช้เป็นยาฟอกเลือด ยาระบาย ช่วยเจริญอาหาร ช่วยแก้กระหายน้ำ ช่วยบรรเทาอาการหวัด ช่วยรักษาแผลในกระเพาะอาหาร ช่วยลดอาการฟกช้ำ ช่วยแก้อาการผดผื่นคัน
  • ใบแห้งของมะระ นำมาบดให้ละเอียดกับน้ำกินเป็นยา ช่วยขับพยาธิ ขับลม และบำรุงธาตุ
  • ผลสดของมะระ นิยมนำมาทำอาหาร ให้รสขม นำมารับประทาน ช่วยรักษาโรคเบาหวาน บำรุงธาตุ มีเบต้าแคโรทีนช่วยป้องกันมะเร็ง ช่วยทำให้ดวงตาสดใส ช่วยเสริมสร้างกระดูกและฟันให้แข็งแรง ช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด ขับเสมหะ เป็นยาระบายอ่อน มะระช่วยแก้ตับ ม้ามพิการ บำรุงน้ำดี  ผลของมะระนำมาคั้นเอาน้ำใช้อมแก้อาการปากเปื่อย
  • ผลแห้งของมะระ นำมาบดให้ละเอียด โรยบริเวณที่เป็นแผล ใช้ทาแก้คัน หิด และโรคผิวหนัง
  • ผลสุกของมะระ นำมาทาหน้ารักษาสิวได้

โทษของมะระ

หากไม่อยากกินมะระที่ขมมากนัก ควรเริ่มตั้งแต่การเลือกซื้อ คือเลือกผลที่มีสีเขียวอ่อน อวบ และมีลายห่าง ๆ เพราะจะขมน้อยกว่าผลที่มีสีเขียวเข้มและลายถี่ และก่อนนำมะระไปปรุงอาหาร ให้ผ่าแล้วเอาเมล็ดและไส้ในออกจนหมด จากนั้นหั่นแล้วนำไปแช่น้ำเกลือสักพัก จะช่วยให้มะระลดความขมลงได้

มะระ ( Bitter melon ) คือ สมุนไพร พืชสวนครัว ผลมะระมีรสขม นิยมนำมารับประทาน ลักษณะของต้นมระเป็นอย่างไร สรรพคุณของมะระ  เช่น ช่วยป้องกันมะเร็ง ช่วยเจริญอาหาร โทษของมะระ มีอะไรบ้าง

Beezab.com แหล่งความรู้ด้านสุขภาพ สมุนไพร โรค แม่และเด็ก อาหารเพื่อสุขภาพ โยคะ ธรรมะครูบาอาจารย์ ดูแลตัวเองเบื้องต้นด้วยข้อมูลดีๆ เนื้อหาในเว็บไซต์นี้มีไว้เพื่อการศึกษาหรือเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเท่านั้น เราไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้แทนคำแนะนำทางการแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือ การรักษาโรคแต่อย่างใด หากคุณมีอาการเจ็บป่วยหรือรู้สึกไม่สบาย ควรคำปรึกษาจากแพทย์ เพื่อรับการรักษาอย่างถูกต้อง สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมโปรดดูที่ข้อตกลงและเงื่อนไขการใช้งานของเรา

Beezab.com source of health knowledge, herbsdiseasesmothers and childrenhealthy foodyoga and Dhamma.  The content on this page is for educational purposes only. We are not intended to be a substitute for medical advice. Diagnosis of disease or treatment of disease in any way If you are sick, You should consult a doctor.

The post มะระ สมุนไพร 20 ประโยชน์และโทษของมะระมีอะไรบ้าง first appeared on 300 สมุนไพร และ โรค เรื่องสุขภาพน่ารู้มีอะไรบ้าง.

]]>
แครอท สมุนไพร ผักสวนครัว วิตามินสูง ช่วยบำรุงสายตา https://beezab.com/%e0%b9%81%e0%b8%84%e0%b8%a3%e0%b8%ad%e0%b8%97-%e0%b8%9c%e0%b8%b1%e0%b8%81%e0%b8%aa%e0%b8%b5%e0%b8%aa%e0%b9%89%e0%b8%a1-%e0%b8%9a%e0%b8%b3%e0%b8%a3%e0%b8%b8%e0%b8%87%e0%b8%9c%e0%b8%b4%e0%b8%a7/ Mon, 22 Aug 2016 06:03:05 +0000 http://beezab.com/?p=4273 แครอท ผักสวนครัว นิยมนำมาทำอาหาร ต้นแครอทเป็นอย่างไร คุณค่าทางโภชนาการของแครอท ประโยชน์และสรรพคุณบำรุงสายตา ช่วยชะลอวัย โทษของแครอทมีอะไรบ้าง แครอท ( Carrot ) ชื่อวิทยาศาสตร์ของแครอท คือ Daucus carota L. สมุนไพร พืชตระกูลผักชี ต้นแครอท นิยมรับประทานหัวแครอท คุณค่าทางโภชนาการของแครอท ประโยชน์ของแครอท สรรพคุณของแครอท บำรุงสายตา บำรุงเลือด ป้องกันมะเร็ง บำรุงผิว บำรุงกระดูก ช่วยชะลอวัย ช่วยลดคอเลสเตอรอล  รักษาโรคความดันโลหิตสูง ป้องกันโรคหลอดเลือด รักษาโรคหัวใจ เป็นยาขับปัสสาวะ ช่วยรักษาฝี รักษาแผลหนอง ต้นแครอท หากจะพูดถึงแครอท เพื่อนคิดถึงอะไร กระต่าย ชอบกินแครอท ซึ่งแครอท เป็นผักชนิดหนึ่งที่นิยมรับประทานหัวของแครอท เป็นพืชต่างแดน มีสรรพคุณด้านสุขภาพมากมาย แครอทอุดมไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุต่างๆมากมาย อาทิ เช่น เบต้าแคโรทีน วิตามินเอ วิตามินบี1 วิตามินบี2 วิตามินซี วิตามินอี ธาตุแคลเซียม ธาตุโพแทสเซียม ธาตุฟอสฟอรัส ธาตุเหล็ก แครอทมีสารสำคัญ ตัวหนึ่ง เรียกว่า  “ ฟอลคารินอล ( falcarinol ) ” เป็นสารที่ช่วยต้านเซล์มะเร็งได้ แครอทนิยมนำมารับประทาน เป็นส่วนประกอบของอาหารต่างๆมากมาย ทั้งเมนูต้ม ผัด แกง ทอด นึ่ง วันนี้มาทำความรู้จักกับ แครอท ว่า ต้นแครอทเป็นอย่างไร คุณค่าทางโภชนาการของแครอทมีอะไรบ้าง สรรพคุณด้านการรักษาโรคของแครอทเป็นอย่างไร แครอท มีชื่อภาษาอังกฤษ ว่า Carrot ชื่อวิทยาศาสตร์ของแครอท คือ Daucus carota L. เป็นพืชตระกูลเดียวกันกับผักชี แครอท เป็นพืชที่ถิ่นกำเนิดในประเทศแถบเอเชียตะวันออกและประเทศแถบเอเชียกลาง เป็นพืชที่นิยมรับประทานกันทั่วโลก เป็นผักที่นิยมนำมารับประทานมากชนิดหนึ่ง ด้วยรสชาติหวาน กรอบ มีประโยชน์ต่อสุขภาพ ต้นแครอท ต้นแครอท เป็นพืชที่มีหัวอยู่ใต้ดิน มีลักษณะคล้ายกับผักชี โดยลักษณะของต้นแครอท มีรายละเอียด ดังนี้ หัวแครอทมีสีส้ม สามารถนำมารับประทานได้ รากหรือหัวแครอท มีลักษณะพองโต ยาว ความยาวประมาณ 15 เซนติเมตร ถึง 30 เซนติเมตร ใบของต้นแครอท ใบจะแตกออกรอบๆของลำต้น ก้านใบยาว มีสีเขียว ความสูงประมาณ 20 เซนติเมตร

The post แครอท สมุนไพร ผักสวนครัว วิตามินสูง ช่วยบำรุงสายตา first appeared on 300 สมุนไพร และ โรค เรื่องสุขภาพน่ารู้มีอะไรบ้าง.

]]>
แครอท ผักสวนครัว นิยมนำมาทำอาหาร ต้นแครอทเป็นอย่างไร คุณค่าทางโภชนาการของแครอท ประโยชน์และสรรพคุณบำรุงสายตา ช่วยชะลอวัย โทษของแครอทมีอะไรบ้างแครอท สมุนไพร สรรพคุณของแครอท ประโยชน์ของแครอท

แครอท ( Carrot ) ชื่อวิทยาศาสตร์ของแครอท คือ Daucus carota L. สมุนไพร พืชตระกูลผักชี ต้นแครอท นิยมรับประทานหัวแครอท คุณค่าทางโภชนาการของแครอท ประโยชน์ของแครอท สรรพคุณของแครอท บำรุงสายตา บำรุงเลือด ป้องกันมะเร็ง บำรุงผิว บำรุงกระดูก ช่วยชะลอวัย ช่วยลดคอเลสเตอรอล  รักษาโรคความดันโลหิตสูง ป้องกันโรคหลอดเลือด รักษาโรคหัวใจ เป็นยาขับปัสสาวะ ช่วยรักษาฝี รักษาแผลหนอง

ต้นแครอท หากจะพูดถึงแครอท เพื่อนคิดถึงอะไร กระต่าย ชอบกินแครอท ซึ่งแครอท เป็นผักชนิดหนึ่งที่นิยมรับประทานหัวของแครอท เป็นพืชต่างแดน มีสรรพคุณด้านสุขภาพมากมาย แครอทอุดมไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุต่างๆมากมาย อาทิ เช่น เบต้าแคโรทีน วิตามินเอ วิตามินบี1 วิตามินบี2 วิตามินซี วิตามินอี ธาตุแคลเซียม ธาตุโพแทสเซียม ธาตุฟอสฟอรัส ธาตุเหล็ก

แครอทมีสารสำคัญ ตัวหนึ่ง เรียกว่า  “ ฟอลคารินอล ( falcarinol ) ” เป็นสารที่ช่วยต้านเซล์มะเร็งได้ แครอทนิยมนำมารับประทาน เป็นส่วนประกอบของอาหารต่างๆมากมาย ทั้งเมนูต้ม ผัด แกง ทอด นึ่ง วันนี้มาทำความรู้จักกับ แครอท ว่า ต้นแครอทเป็นอย่างไร คุณค่าทางโภชนาการของแครอทมีอะไรบ้าง สรรพคุณด้านการรักษาโรคของแครอทเป็นอย่างไร

แครอท มีชื่อภาษาอังกฤษ ว่า Carrot ชื่อวิทยาศาสตร์ของแครอท คือ Daucus carota L. เป็นพืชตระกูลเดียวกันกับผักชี แครอท เป็นพืชที่ถิ่นกำเนิดในประเทศแถบเอเชียตะวันออกและประเทศแถบเอเชียกลาง เป็นพืชที่นิยมรับประทานกันทั่วโลก เป็นผักที่นิยมนำมารับประทานมากชนิดหนึ่ง ด้วยรสชาติหวาน กรอบ มีประโยชน์ต่อสุขภาพ

ต้นแครอท

ต้นแครอท เป็นพืชที่มีหัวอยู่ใต้ดิน มีลักษณะคล้ายกับผักชี โดยลักษณะของต้นแครอท มีรายละเอียด ดังนี้

  • หัวแครอทมีสีส้ม สามารถนำมารับประทานได้ รากหรือหัวแครอท มีลักษณะพองโต ยาว ความยาวประมาณ 15 เซนติเมตร ถึง 30 เซนติเมตร
  • ใบของต้นแครอท ใบจะแตกออกรอบๆของลำต้น ก้านใบยาว มีสีเขียว ความสูงประมาณ 20 เซนติเมตร ถึง 40 เซนติเมตร แครอทจะมีอยู่ 2 ส่วน คือ ส่วนเนื้อและส่วนแกน ซึ่งส่วนของเนื้อ (Outer Core) ประกอบด้วย เปลือกบางชั้นนอก (Periderm) และเนื้อ(Cortex) ส่วนที่สองส่วนแกน(Inner core) เป็นส่วนที่ทำให้หัวของแครอทแข็งแรง ส่วนนี้จะประกอบไปด้วย ท่อนํ้า(Xylem) และแกน(Pith)

สายพันธุ์แครอท

  • พันธุ์เบบี้แครอท(Baby carrot) สายพันธุ์ มีหัวขนาดเล็ก ยาวประมาณ 10 เซนติเมตร มีสีส้ม
  • พันธุ์แนนเทส(Nantes) สายพันธ์นี้ มีหัวขนาดปานกลาง ความยาวของหัวประมาณ 15 เซนติเมตร มีสีส้ม เนื้อกรอบ นิยมปลูกในแถบประเทศยุโรป
  • พันธุ์แชนทีเน่(Chantenay) สายพันธุ์นี้มีหัวขนาดปานกลาง เป็นทรงรูปกรวย ความยาวของหัวประมาณ 25 เซนติเมตร มีสีส้ม เนื้อกรอบ เป็นสายพันธุ์ที่นิยมปลูกที่สหรัฐอเมริกา
  • พันธุ์แดนเวอร์(Danvers) สายพันธ์นี้มีลักษณะของหัวจะสั้นและเรียว ความยาวของหัวแครอทประมาณ 20 เซนติเมตร มีสีส้ม เปลือกมีผิวเรียบ เป็นสายพันธ์ที่นิยมนำมาแปรรูปเป็นอบแห้ง หรือบรรจุกระป๋อง และปลูกมากในประเทศสหรัฐอเมริกา
  • พันธุ์อิมเพอเรเตอร์ (Imperater) สายพันธุ์นี้มีหัวขนาดใหญ่ ความยาวประมาณ 30 เซนติเมตร ผิวของเปลือกเรียบ มีสีส้ม ลักษณะเด่นของสายพันธุ์นี้คือ มีใบติดกับหัวแครอท
  • พันธุ์หงส์แดง (New Kuruda) เป็นสายพันธ์ไทย จัดอยู่ในสายพันธุ์แชนทาเน่ ชอบดินร่วนปนทราย สามารถปลูกได้ทั้งตลอดปี
  • พันธุ์มินิเอ็กซ์เพรส (Mini Express) สายพันธุ์นี้จัดอยู่ในแครอทสายพันธุ์เบบี้แครอท คือมีหัวเล็ก เรียวยาว ปลูกได้ตลอดทั้งปี ชอบดินร่วนปนทราย
  • พันธุ์ทัมบีลีนา(Thumbelina)มีลักษณะเด่น คือ หัวกลม และสั้น ความยาวประมาณ 5 เซนติเมตร มีสีส้มสด รสชาติดี
  • พันธุ์ทัวริโน เอฟวัน (Tourino F1) เป็นสายพันธุ์ที่อ้วนเตี้ย มีสีส้มสด และอายุการเก็บเกี่ยวสั้น มีสีส้มสด

คุณค่าทางอาหารของแครอท

มีการศึกษาคุณค่าทางโภชนาการของหัวแครอทขนาด 100 กรัม พบว่าให้พลังงาน 41 กิโลแคลอรี่ มีสารอาหารต่างๆ มากมาย ประกอบด้วย คาร์โบไฮเดรต 9.6 กรัม น้ำตาล 4.7 กรัม เส้นใย 2.8 กรัม ไขมัน 0.24 กรัม โปรตีน 0.93 กรัม วิตามินเอ 835 ไมโครกรัม เบต้าแคโรทีน 8,285 ไมโครกรัม ลูทีน และ ซีแซนทีน 256 ไมโครกรัม วิตามินบี1 0.066 มิลลิกรัม วิตามินบี2 0.058 มิลลิกรัม วิตามินบี3 0.983 มิลลิกรัม วิตามินบี5 0.273 มิลลิกรัม วิตามินบี6 0.138 มิลลิกรัม วิตามินบี9 19 ไมโครกรัม วิตามินซี 5.9 มิลลิกรัม วิตามินอี 0.66 มิลลิกรัม ธาตุแคลเซียม 33 มิลลิกรัม ธาตุเหล็ก 0.3 มิลลิกรัม ธาตุแมกนีเซียม 12 มิลลิกรัม ธาตุแมงกานีส 0.143 มิลลิกรัม ธาตุฟอสฟอรัส 35 มิลลิกรัม ธาตุโพแทสเซียม 320 มิลลิกรัม ธาตุโซเดียม 69 มิลลิกรัม ธาตุสังกะสี 0.24 มิลลิกรัม และธาตุฟลูออไรด์ 3.2 ไมโครกรัม

สรรพคุณของแครอท

การใช้แครอทในการรักษาโรคนิยมใช้หัวแครอทมาใช้ประโยชน์ ซึ่ง สรรพคุณของแครอทประกอบด้วย

  • บำรุงสายตา แครอทมีสารเบต้าแคโรทีน ที่มีประโยชน์ต่อสายตา การรับประทานแครอทอย่างสม่ำเสมอจะช่วยถนอมดวงตา
  • ช่วยป้องกันมะเร็ง แครอทมีประสิทธิภาพ ช่วยป้องกันโรคมะเร็งปอด ในแครอทมีสารต้านอนุมูลอิสระ มีฤทธิ์ต้านการเจริยเติบโตของเซลล์มะเร็ง
  • บำรุงเลือด แครอทสามารถช่วยให้ระบบไหลเวียนของเลือดดี ในแครอทช่วยลดน้ำตาลในเลือดและลดไขมันในเลือด ทำให้เลือดสามารถไหลเวียนได้ดี การกินแครอทช่วยรักษาระดับน้ำตาลในเส้นเลือด เนื่องจากในแครอทมีสารที่ชื่อว่า แคโรทีนอยด์ เป็นสารที่ช่วยรักษาสมดุลของน้ำตาลในเลือด
  • บำรุงระบบทางเดินอาหาร แครอทช่วยปรับระบบย่อยอาหาร ทำให้ร่างกายเผาผลาญพลังงานได้ดี แครอทจะเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของระบบย่อยอาหาร
  • บำรุงผิวพรรณ แครอทมีวิตามินหลายชนิดที่มีผลดีต่อผิว และยังมีน้ำ ทำให้ผิวเปล่งปลั่งอยู่เสมอ ลดรอยเหี่ยวย่น
  • บำรุงเส้นผม ในแครอทมีน้ำและวิตามินหลายชนิดที่ช่วยให้เส้นผมแข็งแรง
  • แครอทช่วยเสริมสร้างภูมิต้านทานโรค ในแครอทเด่นอย่างหนึ่ง คือ มีฤทธิ์ในการฆ่าเชื้อแบคทีเรียทำให้แผลหายเป็นปกติรวดเร็วมากขึ้น
  • ช่วยสมานแผล
  • ขับพยาธิ แครอทมีฤทธิ์ช่วยในการขับถ่ายพยาธิได้
  • ช่วยบำรุงกระดูก ฟัน เหงือก เล็บ ให้แข็งแรง
  • ช่วยในการชะลอวัย และลดริ้วรอยตามผิวหนัง

นอกจากนั้น แครอทยัง ช่วยลดคอเลสเตอรอล  รักษาโรคความดันโลหิตสูง ป้องกันโรคหลอดเลือด รักษาโรคหัวใจ เป็นยาขับปัสสาวะ ช่วยรักษาฝี รักษาแผลหนอง

การปลูกแครอท

การปลูกแครอทนั้น แครอท เป็นพืชที่ ชอบอากาศหนาว ระดับ 7-23 องศาเซลเซียส การปลูกจะปลูกในช่วยฤดูหนาว ระหว่างเดือนตุลาคมถึงกุมภาพันธ์ มีอายุการเก็บเกี่ยวที่ 80 – 100 วัน ดินที่เหมาะสมต่อการปลูกแครอท คือ ดินร่วนปนทราย มีอินทรีย์วัตถุสูง ระบายนํ้าได้ดี หน้าดินลึก ในประเทศไทย สามารถปลูกได้ในทุกภาคยกเว้นภาคใต้ แครอทสามารถปลูกได้ทุกฤดู แต่ฤดูหนาวจะให้ผลผลิตสูงที่สุด การปลูกแครอท สามารถใช้วิธีการหว่านหรือหยอดเมล็ด

แครอท ผักสวนครัว นิยมนำหัวแครอทมาทำอาหาร ลักษณะของต้นแครอท เป็นอย่างไร คุณค่าทางโภชนาการของแครอท ประโยชน์และสรรพคุณของแครอท เช่น บำรุงสายตา ช่วยชะลอวัย โทษของแครอท มีอะไรบ้าง

The post แครอท สมุนไพร ผักสวนครัว วิตามินสูง ช่วยบำรุงสายตา first appeared on 300 สมุนไพร และ โรค เรื่องสุขภาพน่ารู้มีอะไรบ้าง.

]]>
บอระเพ็ด สมุนไพร เถามีรสขมมากนิยมนำมาทำยารักษาโรค https://beezab.com/%e0%b8%9a%e0%b8%ad%e0%b8%a3%e0%b8%b0%e0%b9%80%e0%b8%9e%e0%b9%87%e0%b8%94-%e0%b8%aa%e0%b8%a1%e0%b8%b8%e0%b8%99%e0%b9%84%e0%b8%9e%e0%b8%a3-%e0%b8%a2%e0%b8%b2%e0%b8%a5%e0%b8%94%e0%b9%84%e0%b8%82%e0%b9%89/ Sat, 26 Mar 2016 03:56:34 +0000 http://beezab.com/?p=2498 บอระเพ็ด ( Heart leaved moonseed ) พืชรสขม สมุนไพร นิยมทำยารักษาโรค สรรพคุณช่วยลดไข้ บำรุงกำลัง บำรุงเลือด ช่วยเจริญอาหาร เป็นยาอายุวัฒนะ ขับพยาธิบำรุงผิวพรรณ บอระเพ็ด ( Heart leaved moonseed ) ชื่อวิทยาศาสตร์ของบอระเพ็ด คือ Tinospora crispa (L.) Miers ex Hook.f.& Thomso ชื่ออื่นของบอระเพ็ด เช่น ตัวเจตมูลยาน เถาหัวด้วน หางหนู จุ่งจิง เครือเขาฮอ เจตมูลหนาม เป็นต้น ต้นบอระเพ็ด ถือไม้เลื้อย ซึ่งจะพบเห็นต้นบอระเพ็ด พันตามต้นไม้ เถาของบอระเพ็ดมีลัษณะกลมใหญ่เป็นปุ่ม มีสีเทาอมดำ รสขมจัด ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับกัน ลักษณะใบเหมือนรูปหัวใจ ขอบใบเรียบ สีเขียว ดอกจะออกตามซอกใบ สีเขียวอมเหลือง ขนาดเล็ก ผลเป็นทรงกลม สีเหลือง สรรพคุณของบอระเพ็ด สามารถใช้ประโยชน์ได้ทั้ง ราก ลำต้น ใบ ดอก และผล รายละเอียด ดังนี้ รากของบอระเพ็ด ใช้ลดไข้ ดับพิษร้อน และ ช่วยเจริญอาหาร ลำต้นของบอระเพ็ด ใช้ลดไข้ บำรุงกำลัง บำรุงธาตุขัน บำรุงเลือด แก้ร้อนในกระหายน้ำ ช่วยเจริญอาหาร เป็นยาอายุวัฒนะ ใบของบอระเพ็ด ใช้แก้ไข้ ขับพยาธิ แก้ปวดฝี บำรุงธาตุ ลดความร้อนในร่างกาย บำรุงผิวพรรณ รักษาโรคผิวหนัง รักษาผดผื่นคัน บำรุงเส้นเสียง ใช้รักษาเลือดคั่งในสมอง เป็นยาอายุวัฒนะ ดอกของบอระเพ็ด ใช้ฆ่าพยาธิในท้อง ในฟัน ในหู ผลของบอระเพ็ด ใช้ขับเสมหะ ลดไข้ เมื่อพูดถึงสมุนไพรที่มีรสขมนั้นนับได้ว่า บอระเพ็ดเป็นหนึ่งในสมุนไพรที่มีรสขม โดยอาจจะเรียกได้ว่ามีรสชาติที่ขมที่สุดเลยก็ว่าได้ ซึ่งรสชาติที่ขมของบอระเพ็ดนั้นมีสรรพคุณเหลือหลายที่มีบอระเพ็ด สมุนไพร รสขม ที่ใช้เป็นอายุวัฒนะ ผมหงอกแก้ด้วยบอระเพ็ดะโยชน์ต่อร่างกายและมีสรรพคุณทางยาที่มากล้น จนมีคำกล่าวว่าหวานเป็นลมขมเป็นยานั่นเอง บอระเพ็ดนั้นจัดเป็นต้นไม้ประเภทเครือเถา ซึ่งโดยทั่วไปแล้วจะจะขึ้นเกี่ยวกับต้นไม้ชนิดไม้ยืนต้นเป็นหลัก บอระเพ็ดเป็นสมุนไพรที่มีรสขม โดยรสชาติที่ขนของบอระเพ็ดนั้นมีสรรพคุณมากมายโดยส่วนใหญ่แล้วจะใช้บอระเพ็ดเป็นยาสมุนไพรในการช่วยให้เจริญอาหารได้เป็นอย่างดี อีกทั้งบอระเพ็ดยังมีสารต้านอนุมูลอิสระมากมายโดยเฉพาะแทนนินซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่ช่วยในการต่อต้านความเสื่อมชราและชะลอความแก่ได้เป็นอย่างดีนั่นเอง นอกจากบอระเพ็ดจะถูกใช้เป็นยาสมุนไพรเพื่อบำรุงร่างกายแล้วบอระเพ็ดยังถูกนำมาใช้เพื่อบำรุงและฟื้นฟูร่างกายทางด้านต่างๆได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะเรื่องของความสวยความงาม เช่น หากผู้ใดที่มีปัญหาเรื่องของสุขภาพเส้นผมทั้งเส้นผมบางผมร่วงอีกทั้งยังรวมไปถึงผมหงอกก่อนวัยนั้นนับเป็นปัญหาใหญ่สำหรับใครหลายคนวิธีการแก้ไขง่ายๆโดยใช้สมุนไพรบอระเพ็ดรับประทานวันละ 600 มิลลิกรัม โดยรับประทานติดต่อกันเป็นระยะเวลาหนึ่งเดือนขึ้นไปนั้นจะช่วยทำให้ผมกลับมาดกดำไม่ร่วงง่ายและยังช่วยให้ผมที่งอกนั้นกลับมาดกดำเหมือนเดิมได้เป็นอย่างดีนั่นเอง นอกจากนั้นแล้วบอระเพ็ดยังสามารถช่วยให้ผู้ที่ทานเป็นประจำจะมีร่างกายที่แข็งแรงอีกทั้งยังมีความสดชื่นอยู่เสมอ ความคมของบอระเพ็ดนั้นสามารถช่วยในการถอนพิษไข้ได้เป็นอย่างดีจึงมีการนำมาใช้เพื่อรักษาโรคใครหวัดและไอตัวร้อนรวมถึงอาการดีซ่านซึ่งสามารถรักษาได้เป็นอย่างดี แม้ในปัจจุบันนี้ผลงานวิจัยทางด้านการใช้บอระเพ็ดเป็น สมุนไพรในการรักษาโรคภัยไข้เจ็บต่างๆนั้นอาจจะยังดูน้อยเนื่องจากสมุนไพรบอระเพ็ดนั้นจะไม่ค่อยมีคนพูดถึงกันมากเท่าไหร่ แต่ปัจจุบันนี้ในทางการแพทย์แผนไทยและเภสัชกรรมไทยได้มีการผลิตบอระเพ็ดแคปซูลเพื่อเป็นยาสมุนไพรบำรุงร่างกายออกมาวางจำหน่ายสำหรับผู้ที่ชื่นชอบในการใช้สมุนไพรบำรุงร่างกายนั่นเองโดยถือได้ว่าเป็นการตอบโจทย์ผู้บริโภคที่หันมาใส่ใจและหันมาใช้ยาสมุนไพรแทนการใช้ยาแผ่นปัจจุบันนั้นเอง โดยสมุนไพรบอระเพ็ดนั้นมีข้อดีคือสามารถช่วยในการรักษาโรคภัยไข้เจ็บต่างๆได้เป็นอย่างดีอีกทั้งยังมีผลข้างเคียงที่เกิดจากการใช้น้อยกว่าการใช้ยาเคมีหรือยาแผนปัจจุบันนั่นเอง ข้อควรระวังในการกินบอระเพ็ด สมุนไพรบอระเพ็ดสำหรับการรับประทานในส่วนของรากอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานอาจมีผลต่อหัวใจ เนื่องจากเป็นยารสขม สิ่งที่ต้องระวังก็คือไม่ควรใช้ติดกันต่อเนื่องเกิน 1 เดือน ถ้าหากจำเป็นต้องใช้ในเดือนถัดไปก็ควรเว้นระยะเวลา

The post บอระเพ็ด สมุนไพร เถามีรสขมมากนิยมนำมาทำยารักษาโรค first appeared on 300 สมุนไพร และ โรค เรื่องสุขภาพน่ารู้มีอะไรบ้าง.

]]>
บอระเพ็ด ( Heart leaved moonseed ) พืชรสขม สมุนไพร นิยมทำยารักษาโรค สรรพคุณช่วยลดไข้ บำรุงกำลัง บำรุงเลือด ช่วยเจริญอาหาร เป็นยาอายุวัฒนะ ขับพยาธิบำรุงผิวพรรณ

บอระเพ็ด ต้นบอระเพ็ด สมุนไพร สรรพคุณของบอระเพ็ด

บอระเพ็ด ( Heart leaved moonseed ) ชื่อวิทยาศาสตร์ของบอระเพ็ด คือ Tinospora crispa (L.) Miers ex Hook.f.& Thomso ชื่ออื่นของบอระเพ็ด เช่น ตัวเจตมูลยาน เถาหัวด้วน หางหนู จุ่งจิง เครือเขาฮอ เจตมูลหนาม เป็นต้น

ต้นบอระเพ็ด ถือไม้เลื้อย ซึ่งจะพบเห็นต้นบอระเพ็ด พันตามต้นไม้ เถาของบอระเพ็ดมีลัษณะกลมใหญ่เป็นปุ่ม มีสีเทาอมดำ รสขมจัด ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับกัน ลักษณะใบเหมือนรูปหัวใจ ขอบใบเรียบ สีเขียว ดอกจะออกตามซอกใบ สีเขียวอมเหลือง ขนาดเล็ก ผลเป็นทรงกลม สีเหลือง

สรรพคุณของบอระเพ็ด

สามารถใช้ประโยชน์ได้ทั้ง ราก ลำต้น ใบ ดอก และผล รายละเอียด ดังนี้

  • รากของบอระเพ็ด ใช้ลดไข้ ดับพิษร้อน และ ช่วยเจริญอาหาร
  • ลำต้นของบอระเพ็ด ใช้ลดไข้ บำรุงกำลัง บำรุงธาตุขัน บำรุงเลือด แก้ร้อนในกระหายน้ำ ช่วยเจริญอาหาร เป็นยาอายุวัฒนะ
  • ใบของบอระเพ็ด ใช้แก้ไข้ ขับพยาธิ แก้ปวดฝี บำรุงธาตุ ลดความร้อนในร่างกาย บำรุงผิวพรรณ รักษาโรคผิวหนัง รักษาผดผื่นคัน บำรุงเส้นเสียง ใช้รักษาเลือดคั่งในสมอง เป็นยาอายุวัฒนะ
  • ดอกของบอระเพ็ด ใช้ฆ่าพยาธิในท้อง ในฟัน ในหู
  • ผลของบอระเพ็ด ใช้ขับเสมหะ ลดไข้

เมื่อพูดถึงสมุนไพรที่มีรสขมนั้นนับได้ว่า บอระเพ็ดเป็นหนึ่งในสมุนไพรที่มีรสขม โดยอาจจะเรียกได้ว่ามีรสชาติที่ขมที่สุดเลยก็ว่าได้ ซึ่งรสชาติที่ขมของบอระเพ็ดนั้นมีสรรพคุณเหลือหลายที่มีบอระเพ็ด สมุนไพร รสขม ที่ใช้เป็นอายุวัฒนะ ผมหงอกแก้ด้วยบอระเพ็ดะโยชน์ต่อร่างกายและมีสรรพคุณทางยาที่มากล้น จนมีคำกล่าวว่าหวานเป็นลมขมเป็นยานั่นเอง บอระเพ็ดนั้นจัดเป็นต้นไม้ประเภทเครือเถา ซึ่งโดยทั่วไปแล้วจะจะขึ้นเกี่ยวกับต้นไม้ชนิดไม้ยืนต้นเป็นหลัก

บอระเพ็ดเป็นสมุนไพรที่มีรสขม โดยรสชาติที่ขนของบอระเพ็ดนั้นมีสรรพคุณมากมายโดยส่วนใหญ่แล้วจะใช้บอระเพ็ดเป็นยาสมุนไพรในการช่วยให้เจริญอาหารได้เป็นอย่างดี อีกทั้งบอระเพ็ดยังมีสารต้านอนุมูลอิสระมากมายโดยเฉพาะแทนนินซึ่งเป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่ช่วยในการต่อต้านความเสื่อมชราและชะลอความแก่ได้เป็นอย่างดีนั่นเอง นอกจากบอระเพ็ดจะถูกใช้เป็นยาสมุนไพรเพื่อบำรุงร่างกายแล้วบอระเพ็ดยังถูกนำมาใช้เพื่อบำรุงและฟื้นฟูร่างกายทางด้านต่างๆได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะเรื่องของความสวยความงาม เช่น หากผู้ใดที่มีปัญหาเรื่องของสุขภาพเส้นผมทั้งเส้นผมบางผมร่วงอีกทั้งยังรวมไปถึงผมหงอกก่อนวัยนั้นนับเป็นปัญหาใหญ่สำหรับใครหลายคนวิธีการแก้ไขง่ายๆโดยใช้สมุนไพรบอระเพ็ดรับประทานวันละ 600 มิลลิกรัม โดยรับประทานติดต่อกันเป็นระยะเวลาหนึ่งเดือนขึ้นไปนั้นจะช่วยทำให้ผมกลับมาดกดำไม่ร่วงง่ายและยังช่วยให้ผมที่งอกนั้นกลับมาดกดำเหมือนเดิมได้เป็นอย่างดีนั่นเอง

นอกจากนั้นแล้วบอระเพ็ดยังสามารถช่วยให้ผู้ที่ทานเป็นประจำจะมีร่างกายที่แข็งแรงอีกทั้งยังมีความสดชื่นอยู่เสมอ
ความคมของบอระเพ็ดนั้นสามารถช่วยในการถอนพิษไข้ได้เป็นอย่างดีจึงมีการนำมาใช้เพื่อรักษาโรคใครหวัดและไอตัวร้อนรวมถึงอาการดีซ่านซึ่งสามารถรักษาได้เป็นอย่างดี แม้ในปัจจุบันนี้ผลงานวิจัยทางด้านการใช้บอระเพ็ดเป็น

สมุนไพรในการรักษาโรคภัยไข้เจ็บต่างๆนั้นอาจจะยังดูน้อยเนื่องจากสมุนไพรบอระเพ็ดนั้นจะไม่ค่อยมีคนพูดถึงกันมากเท่าไหร่ แต่ปัจจุบันนี้ในทางการแพทย์แผนไทยและเภสัชกรรมไทยได้มีการผลิตบอระเพ็ดแคปซูลเพื่อเป็นยาสมุนไพรบำรุงร่างกายออกมาวางจำหน่ายสำหรับผู้ที่ชื่นชอบในการใช้สมุนไพรบำรุงร่างกายนั่นเองโดยถือได้ว่าเป็นการตอบโจทย์ผู้บริโภคที่หันมาใส่ใจและหันมาใช้ยาสมุนไพรแทนการใช้ยาแผ่นปัจจุบันนั้นเอง

โดยสมุนไพรบอระเพ็ดนั้นมีข้อดีคือสามารถช่วยในการรักษาโรคภัยไข้เจ็บต่างๆได้เป็นอย่างดีอีกทั้งยังมีผลข้างเคียงที่เกิดจากการใช้น้อยกว่าการใช้ยาเคมีหรือยาแผนปัจจุบันนั่นเอง

ข้อควรระวังในการกินบอระเพ็ด

สมุนไพรบอระเพ็ดสำหรับการรับประทานในส่วนของรากอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานอาจมีผลต่อหัวใจ เนื่องจากเป็นยารสขม สิ่งที่ต้องระวังก็คือไม่ควรใช้ติดกันต่อเนื่องเกิน 1 เดือน ถ้าหากจำเป็นต้องใช้ในเดือนถัดไปก็ควรเว้นระยะเวลา 1-2 สัปดาห์เป็นอย่างน้อยเพื่อให้ร่างกายสามารถปรับสภาพได้ก่อน ถ้าใช้ไปแล้วมีอาการมือเท้าเย็น แขนขาหมดเรี่ยวแรงก็ควรหยุดรับประทาน

ข้อควรคำนึงในการบริโภค บอระเพ็ดแบบแคปซูล คือ ไม่ควรทานติดต่อกันเป็นเวลานานเกินกว่าหนึ่งเดือน เพราะ หากมีการทานเกินกว่าหนึ่งเดือน จะมีการสะสมในร่างกายทำให้เกิดอาการอ่อนเพลียและเบื่ออาหารได้

สมุนไพรบอระเพ็ด สำหรับการรับประทานในส่วนของรากอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานอาจมีผลต่อหัวใจ เนื่องจากเป็นยารสขม สิ่งที่ต้องระวังก็คือไม่ควรใช้ติดกันต่อเนื่องเกิน 1 เดือน ถ้าหากจำเป็นต้องใช้ในเดือนถัดไปก็ควรเว้นระยะเวลา 1-2 สัปดาห์เป็นอย่างน้อยเพื่อให้ร่างกายสามารถปรับสภาพได้ก่อน ถ้าใช้ไปแล้วมีอาการมือเท้าเย็น แขนขาหมดเรี่ยวแรงก็ควรหยุดรับประทาน

ถ้าหากใช้แล้วเกิดอาการมือเท้าเย็น อ่อนเพลีย ตาเหลือง แขนขาหมดเรี่ยวแรง ขอแนะนำว่า ควรหยุดรับประทานในทันที และควรรีบไปพบแพทย์ เพราะอาจเป็นการแสดงอาการเริ่มแรกของโรคตับอักเสบ หากดูจากข้อมูลผลรับรองการวิจัย และความเชื่อของคนในสมัยก่อนที่นำบอระเพ็ดมาใช้เป็นยาแล้วนั้น จะสามารถเห็นได้ว่า ไม่มีความเชื่อหรือผลวิจัยที่ช่วยรับรองที่ช่วยชี้ให้เห็นว่า บอระเพ็ด สามารถช่วยในการลดความอ้วนได้จริง อย่างไรก็ตาม บอระเพ็ด ก็ยังเป็นพืชสมุนไพรที่มีประโยชน์อย่างมากมายต่อร่างกาย ซึ่งสามารถใช้ทานเป็นอาหารเสริมได้ แต่ควรอยู่ในปริมาณที่พอดี ไม่อย่างนั้นอาจจะเกิดผลเสียต่อร่างกาย ดังที่ได้กล่าวถึงไปแล้วโดยที่ไม่รู้ตัว

บอระเพ็ด ( Heart leaved moonseed ) เป็นไม้เลื้อย พบได้ตามป่าดิบแล้ง สมุนไพรไทย รสขม สรรพคุณของบอระเพ็ด ลดไข้ บำรุงกำลัง บำรุงธาตุขัน บำรุงเลือด แก้ร้อนในกระหายน้ำ ช่วยเจริญอาหาร เป็นยาอายุวัฒนะ ขับพยาธิ แก้ปวดฝี ลดความร้อนในร่างกาย บำรุงผิวพรรณ

The post บอระเพ็ด สมุนไพร เถามีรสขมมากนิยมนำมาทำยารักษาโรค first appeared on 300 สมุนไพร และ โรค เรื่องสุขภาพน่ารู้มีอะไรบ้าง.

]]>