มะเขือยาว นิยมรับประทานผลมะเขือยาวเป็นอาหาร สมุนไพร ต้นมะเขือยาวเป็นอย่างไร คุณค่าทางโภชนาการ สรรพคุณขับปัสสาวะ สมานแผล ลดความดันโลหิต แก้ท้องเสีย ช่วยขับเสมหะ

มะเขือยาว สมุนไพร สรรพคุณของมะเขือยาว

ต้นมะเขือยาว ( Eggplant ) วิทยาศาสตร์ของมะเขือยาว คือ SO-LANUM MELONGENA LINN ชื่อเรียกของมะเขือยาว เช่น ยั่งมูไล่ สะกอวา มะเขือป๊าว มะเขือหำม้า มะแขว้ง มะแขว้งคม มะเขือกระโปกแพะ มะเขือจาน มะเขือจาวมะพร้าว มะเขือฝรั่ง เป็นต้น มะเขือยาว พืชล้มลุก พืชสวนครัว นิยมนำผลของมะเขือยาวมาทำอาหารกิน ประโยชน์ของมะเขือยาวมีอะไรบ้าง สรรพคุณทางสมุนไพรของมะเขือยาว คุณค่าทางอาหารของมะเขือยาวประกอบด้วยอะไรบ้าง ช่วยบำรุงหลอดเลือดและหัวใจได้เป็นอย่างดี

ลักษณะของต้นมะเขือยาว

ต้นมะเขือยาว เป็นไม้ล้มลุก ลำต้นสูงประมาณ 100 เซ็นติเมตร ลำต้นเดี่ยว แตกกิ่งก้านเป็นพุ่ม ใบ เป็นใบเดี่ยว สีเขียวสด ดอกเป็นช่อ 3-5 ดอก ปลายกลีบแหลมเป็นสีม่วง ผลของมะเขือยาวเป้นผลสีเขียวหรือสีม่วง ผิวเรียบ ยาว

สรรพคุณของต้นมะเขือยาว

มะเขือยาวมีสามารถนำมาทำเป็นสมุรไพรได้ทั้ง ส่วน ลำต้น ราก ใบ ผลแห้ง ผลสดและขั่วของผลแห้ง

  • ลำต้นและรากของมะเขือยาว ใช้รักษา อาการแก้บิดเรื้อรัง อุจจาระเป็นเลือด และรักษาแผลอักเสบ
  • ใบของมะเขือยาว ใช้ แก้อาการปัสสาวะขัด พอกแผลบวมที่เป็นหนองได้
  • ผลแห้งของมะเขือยาว ใช้เป็นแก้ปวด รักษาอาการตกเลือดในลำไส้ ช่วยขับเสมหะ
  • ผลสด ตำพอกแผลอักเสบมีหนอง

โทษของมะเขือยาว

สำหรับการใช้ประโยชน์จากมะเขือยาว มีข้อหลีกเลี่ยงในการประทานมะเขือยาว ดังต่อไปนี้

  • มะเขือยาว เป็นพืชที่มีสารเจือปนจากการปลูก การบริโภคมะเขือยาวต้องล้างให้สะอาด ก่อนนำมารับประทานอาหาร
  • มะเขือยาว ไม่ควรให้ทารกที่อายุต่ำกว่า 3 ปี รับประทานเพราะกากใยอาหารสูงอาจทำให้มีปัญหาการย่อยอาหาร
  • อย่าใช้มะเขือยาวกับคนที่มีโรคระบบทางเดินอาหารแบบเฉียบพลัน
  • สำหรับผู้ป่วยโรคตับอ่อนอักเสบ ไม่ควรรับประทานมะเขือยาว

มะเขือยาว เป็นพืชในตระกูลมะเขือ ที่ปลูกง่ายเจริญเติบโตได้ในดินทุกชนิด มะเขือยาว เป็นพืชที่ต้องการสารอาหารมาก และสามารถปลูกได้ตลอดทั้งปี ทนทานต่อสภาพอากาศ และยังมีอายุยาวข้ามปี ในการบริโภคมะเขือยาวนิยมใช้ทานเป็นผักสด หรือ นำมาประกอบอาหาร ปัจจุบันมะเขือยาวมีหลายสี เช่น สีขาว สีม่วง สีม่วงปนขาว คุณค่าทางโภชนาการของมะเขือยาว มีหลายอย่าง เช่น คาร์โบไฮเดรต เส้นใยอาหาร โปรตีน แคลเซียม ฟอสฟอรัส เหล็ก  โพแทสเซียม วิตามินเอ วิตามินบี 2 วิตามินซี เป็นต้น

ต้นมะเขือยาว มีชื่อวิทยาศาสตร์ ว่า SO-LANUM MELONGENA LINN เป็น พืชผัก มีสรรพคุณทางสมุนไพร สามารถช่วย ขับปัสสาวะ ช่วยสมานแผล ลดความดันโลหิต แก้ท้องเสีย ท้องร่วง แก้ปวด รักษาอาการตกเลือดในลำไส้ ช่วยขับเสมหะ อาการแก้บิดเรื้อรัง รักษาอุจจาระเป็นเลือด มะเขือยาวมี คาร์โบไฮเดรต เส้นใยอาหาร แคลเซียม ฟอสฟอรัส ธาตุเหล็ก สูงช่วยบำรุงสุขภาพ บำรุงกระดูก บำรุงเลือด มะเขือยาวยังมีสารไกลโคอัลคาลอยด์ (Glycoalkaloid) สารต้านอนุมูลอิสระ ชื่อ เทอร์ปิน (terpene) ช่วยรักษาหลอดเลือดหัวใจ ป้องกันโรคความดันโลหิตสุง ลดอาการบวม ช่วยขับปัสสาวะ

มะเขือยาว มีสารอาหารและวิตามินหลายชนิด โดยเฉพาะ สารต้านอนุมูลอิสระ เทอร์ปิน ( terpene ) โดยมีผลงานวิจัยได้ศึกษามะเขือยาว พบว่า มะเขือยาวช่วยฟื้นฟูการทำงานของหัวใจ และ ลดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจตาย ป้องกันโรคความดันโลหิตสูง ลดอาการบวมและอาเจียนเป็นเลือด ช่วยขับปัสสาวะ และยังสามารถช่วยถอนพิษจากเห็ดพิษบางชนิดได้

มะเขือยาว เป็นพืชข้ามปี สามารถเจริญ เติบโตในดิน ทุกสภาพ ดินมีความเป็น กรดเป็นด่าง อยู่ระหว่าง 5.5-6.5 ปลูกได้ ตลอดปี และทั่วทุกภาค ของไปประเทศไทย มะเขือยาว เป็นพืชที่เรา ใช้ส่วนผล ในการบริโภค ใช้เป็นผักสด หรือประกอบ อาหารได้หลายชนิด

มะเขือยาว นิยมรับประทานผลมะเขือยาว พืชพื้นบ้าน สมุนไพร ผักสวนครัว ลักษณะของต้นมะเขือยาว คุณค่าทางโภชนาการของมะเขือยาว สรรพคุณของมะเขือยาว เช่น ขับปัสสาวะ ช่วยสมานแผล ลดความดันโลหิต แก้ท้องเสีย ท้องร่วง แก้ปวด รักษาอาการตกเลือดในลำไส้ ช่วยขับเสมหะ

Beezab.com แหล่งความรู้ด้านสุขภาพ สมุนไพร โรค แม่และเด็ก อาหารเพื่อสุขภาพ โยคะ ธรรมะครูบาอาจารย์ ดูแลตัวเองเบื้องต้นด้วยข้อมูลดีๆ เนื้อหาในเว็บไซต์นี้มีไว้เพื่อการศึกษาหรือเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเท่านั้น เราไม่ได้มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้แทนคำแนะนำทางการแพทย์ การวินิจฉัยโรค หรือ การรักษาโรคแต่อย่างใด หากคุณมีอาการเจ็บป่วยหรือรู้สึกไม่สบาย ควรคำปรึกษาจากแพทย์ เพื่อรับการรักษาอย่างถูกต้อง สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมโปรดดูที่ข้อตกลงและเงื่อนไขการใช้งานของเรา

Beezab.com source of health knowledge, herbsdiseasesmothers and childrenhealthy foodyoga and Dhamma.  The content on this page is for educational purposes only. We are not intended to be a substitute for medical advice. Diagnosis of disease or treatment of disease in any way If you are sick, You should consult a doctor.

ต้นกระจับ วัชพืชทางน้ำ สมุนไพร คุณค่าทางโภชนาการของกระจับ ประโยชน์และสรรพคุณเป็นยาบำรุงกำลัง แก้ปวดท้อง บำรุงผิว บำรุงกระดูก เป็นต้น โทษของกระจับเป็นอย่างไรบ้างต้นกระจับ กระจับ สรรพคุณของกระจับ สมุนไพร

ต้นกระจับ ชื่อสามัญ เรียก Water Chestnut  กระจัม มีชื่อวิทยาศาสตร์ ว่า Trapa bicornis Osbeck ชื่อเรียกอื่นๆของกระจับ เช่น กะจับ มาแง่ง พายับ เขาควาย สำหรับต่างประเทศที่ปลูกต้นกระจับมาก เช่น จีน ไต้หวัน และ อินเดีย เป็นต้น

ประเภทของต้นกระจับ

สำหรับการแบ่งประเภทของต้นกระจับ สามารถแบ่งประเทของกระจับได้ 2 ประเภท คือ กระจับสองเขา และ กระจับสี่เขา รายละเอียด ดังนี้

  • ต้นกระจับสองเขา ได้แก่ กระจับเขาแหลม และ กระจับเขาทู่
  • ต้นกระจับสี่เขา ได้แก่ กระจ่อม ( Jesuit Nut ) และ กระจับ ( Tinghara Nut )

ต้นกระจับในประเทศไทย

กระจับ พบมากในจังหวัดนครศรีธรรมราช เป็นลักษณะของวัชพืชน้ำ ประเทศไทยไม่นิยมปลูกกระจับเพื่อประโยชน์ทางอาหาร แต่พบว่ามีการนำกระจับมาปลูกเพื่อใช้เป็นไม้ประดับ สำหรับการปลูกต้นกระจับเพื่อรับประทานฝัก และ เพื่อจำหน่ายฝักกระจับ พบว่ามีการปลูกมากในทุกภาค เช่น ภาคกลาง ( ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง สุพรรณบุรี อุทัยธานี ) ภาคใต้ นครศรีธรรมราช

คุณค่าทางโภชนากการของกระจับ

สำหรับคุณค่าทางอาหารของกระจับ นักโภชนากการได้ศึกษาคุณค่าทางโภชนากการของเนื้อฝักกระจับ ขนาด 100 กรัม พบว่าให้พลังงาน 117 แคลอรี่ มีความชื้น 70% มีสารอาหารสำคัญ ประกอบด้วย โปรตีน 4.7 กรัม คาร์โบไฮเดรต 23.9 กรัม ไขมัน 0.3 กรัม แคลเซียม 20 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 150 มิลลิกรัม ธาตุเหล็ก 0.8 มิลลิกรัม วิตามินบี2 0.01 มิลลิกรัม และ ไนอาซีน 0.6 มิลลิกรัม

ต้นกระจับ

ต้นกระจับ นั้นเป็นพืชน้ำ เหมือนบัว ออกดอกในช่วงเดือนสิงหาคมถึงมีนาคมของทุกปี ขยายพันธ์โดยการแตกหน่อ ลักษณะของต้นกระจับ มีดังนี้

  • ลำต้นของกระจับ ลำต้นอยู่ใต้ดิน ลำต้นส่วนหนึ่งจะโผล่บนผิวน้ำ ลำต้นมีช่องอากาศ เลื้อยยาวเป็นปล้องๆ รากเป็นสีน้ำตาล รากจะแตกออกบริเวณข้อปล้องของลำต้น สามารถหยั่งลึกลงได้
  • ใบของกระจับ มี 2 ชนิด คือ ใบใต้น้ำ และ ใบเหนือผิวน้ำ ใบเหนือผิวน้ำ รูปทรงข้าวหลามตัด ฐานใบกว้าง ท้องใบ ก้านใบ และ เส้นใบ ใบเรียบ สีเขียวเข้ม เป็นมัน ส่วนใบใต้น้ำ ลักษณะคล้ายราก มีสีเขียว ลำใบเป็นฝอย เรียวยาว จะแตกออกบริเวณข้อของลำต้น
  • ดอกของกระจับ ดอกจะแทงออกบริเวณซอกใบเหนือน้ำออก ดอกเป็นดอกเดี่ยว มีขนาดเล็ก กลีบดอกมีสีขาว
  • ฝักของกระจับ มีลักษณะคล้ายหน้าควาย มีเขา 2 ข้าง เปลือกฝักแข็ง สีดำ เนื้อฝักมีสีขาว

ประโยชน์ของกระจับ

สำหรับประโยชน์ของกระจับมีมากมาย ซึ่งส่วนมากและการใช้ประโยชน์จากกระจับจะนิยมนำฝักกระจับ มารับประทานเนื้อของฝักกระจับ สามารถนำเอามาทำอาหารหวานและอาหารคาวได้มากมาย ส่วนฝักกระจับก็สามารถนำมาทำเชื้อเพลิงได้ ส่วนต้นกระจับหลายคนนำมาปลูกเป็นไม้ประดับ เหมือนบัว ต้นกระจับนั้นสามารถใช้ประโยชน์ได้ นำมาทำยาแก้ปวดท้อง นอกจากนั้น ต้นกระจับที่เหลือจากการนำมาใช้ประโชยน์นั้นนิยมนำมาทำปุ๋ยหมัก ซึ่งสามารถวับน้ำได้ดี เหมาะแก่การปลูกพืช

สรรพคุณของกระจับ

การใช้ประโยชน์จากกระจับด้านการรักษาโรค และ การบำรุงร่างกายนั้น นิยมใช้ประโยชน์จาก ลำต้นหรือเง้า ใบกระจับ เนื้อฝักกระจับ และ เหลือกฝักกระจับ โดยสรรพคุณของกระจับ มีดังนี้

  • ลำต้นและเหง้าของกระจับ สรรพคุณช่วยบำรุงกำลัง และ บำรุงครรภ์
  • ใบของกระจับ สรรพคุณช่วยถอนพิษต่างๆได้
  • เนื้อฝักกระจับ สรรพคุณเป็นยาชูกำลัง ช่วยบำรุงร่างกาย ช่วยบำรุงผิวพรรณ บำรุงกระดูก ช่วยเสริมสร้างการสร้างกระดูก
  • เปลือกฝักกระจับ สรรพคุณแก้อาการปวดท้อง แก้ท้องเสีย

โทษของกระจับ

สำหรับการใช้ประโยชน์จากกระจับนั้น มีประโยชน์ แต่ก็มีโทษและข้อควรระวังอยู่บ้าง โดยรายละเอียด ดังนี้

  • ผลแก่ของกระจับ มีลักษณะแหลม และ มักจะอยู่ตามโคลนตม ซึ่งมองไม่เห็น หากไม่ใส่เครื่องป้องกันเท้าอาจเหยียบกระจับจนได้รับบาดเจ็บได้ หากเกิดการติดเชื้อโรคอาจเป็นเรื่องใหญ่มากกว่านี้อีกมาก
  • ต้นกระจับ สามารถเจริญเติบโตได้ดีในน้ำโดยเฉพาะช่วงฤดูฝน ซึ่งหากปล่อยให้ต้นกระจับแพร่กระจายมากเกินไป อาจทำให้เกิดเป็นวัชพืชปกคลุมผิวน้ำ ส่งผลเสียต่อระบบนิเวศได้
  • ต้นกรัจับหากปล่อยให้เจริญเติบโตโดยไม่ควบคุมปริมาณจะส่งผลต่อการจราจรทางน้ำได้

ต้นกระจับ วัชพืชทางน้ำ สมุนไพร คุณค่าทางโภชนาการของกระจับ ประโยชน์ของกระจับ สรรพคุณของกระจับ เช่น เป็นยาบำรุงกำลัง แก้ปวดท้อง บำรุงผิว บำรุงกระดูก เป็นต้น โทษของกระจับ มีอะไรบ้าง ทำความรู้จักกับ ต้นกะจับ อย่างละเอียด


ขายถุงกระสอบ ถุงสายรุ้ง ย้ายหอ ย้ายบ้าน ต้องการถุงกระสอบ ถุงกระสอบราคาโรงงาน
ติดต่อ ทรัพย์ทวี Line Id : nongnlove