คลื่นไส้อาเจียน ภาวะร่างกายขับของเสียออกจากกระเพาะอาหาร เกิดจากการบีบรัดตัวของทางเดินอาหาร ตั้งแต่ลำไส้ กระเพาะอาหาร หลอดอาหาร กระบังลม กล้ามเนื้อทรวงอก

คลื่นไส้อาเจียน คือ ภาวะการขับของเสียออกจากร่างกาย ออกจากกระเพาะอาหารทางปาก ซึ่งเกิดจากการบีบรัดตัวของระบบทางเดินอาหาร ตั้งแต่ลำไส้ตอนบน กระเพาะอาหาร หลอดอาหาร กระบังลม รวมถึงกล้ามเนื้อทรวงอก

ความผิดปรกติของร่างกาย ที่แสดงออกด้วย การคลื่นไส้ อาเจียน อ้วก อาการเหล่านี้ แสดงให้เห็นถึงโรคต่างๆ ที่มาจากระบบทางเดินอาหาร ระบบหู หรือ ระบบประสาทและสมอง การอ้วกนั้นเกิดจากโรคอะไรบ้าง

อ้วก นั้นไม่ใช่โรค แต่เป็นอาการของโรคที่แสดงออกมาให้เห็น อาการคลื่นไส้ (Nausea) จะแสดงออกมาก่อน อาการอ้วก (Vomiting) สำหรับการคลื่นไส้อาเจียน สามารถเกิดขึ้นได้กับ คนเพศทุกวัย อาการเหล่านี้ไม่รุนแรง แต่ในบางกรณีก็มีความรุนแรงเช่นหากมีการปวดหัวอย่างรุนแรง จนถึงขั้น หมดสติ

คลื่นไส้อาเจียน คือ ภาวะการขับของเสียออกจากร่างกาย ออกจากกระเพาะอาหารทางปาก ซึ่งเกิดจากการบีบรัดตัวของระบบทางเดินอาหาร ตั้งแต่ลำไส้ตอนบน กระเพาะอาหาร หลอดอาหาร กระบังลม รวมถึงกล้ามเนื้อทรวงอก

สาเหตุของการคลื่นไส้อาเจียน คือ การถูกกระตุ้นจากสมอง ทำให้ระบบทางเดินอาหาร ตั้งแต่ลำไส้ตอนบน กระเพาะอาหาร หลอดอาหาร กระบังลม รวมถึงกล้ามเนื้อทรวงอก บีบตัว ซึ่งการบีบตัวนี้แหละ ทำให้เกิดอาการคลื่นไส้และอาเจียนออกมาก โดยปัจจัยที่กระตุ้นให้เกิดการอาเจียน นั้นมีดังนี้

  • เกิดจากปัญหาสุขภาพจิต การความคุมอารมณ์ เช่น การเกิดภาพหลอน เป็นต้น
  • การได้รับกลิ่นฉุนอย่างรุนแรง หรือ อาการแพ้กลิ่นต่างๆที่ร่างกายไม่รับ เช่น กลิ่นน้ำหอมติดรถยนต์ กลิ่นเหม็นเน่าซากศพ เป็นต้น
  • การจินตนาการภาพ ที่ไม่พึงประสงค์ เช่น ภาพคนตาย ภาพอนาจารอย่างน่ารังเกรียจ ภาพอุบัติเหตุสยดสยอง ภาพอาหารเน่า เป็นต้น
  • ปัญหาระบบประสาทหูผิดปรกติ ที่เป็นระบบการทรงตัวของร่างกาย ซึ่งทำให้เกิดอาการมึนหัว จนอาเจียนออกมา
  • การได้รับสารเคมีหรือยา เข้าสู่ร่างกาย ทำให้เกิดการขับสาเคมีออกจากร่างกาย โดยการอ้วกออกมา
  • การกินอาหารที่ไม่สะอาด หรือ อาหารดิบ เมื่อร่างกายได้รับอาหารที่ไม่สุก หรือ ดิบ หรือ เป็นของเน่าเสีย ร่างกายจะมีกลไกในการขับอาหารออกมา โดยการอ้วก
  • เกิดจากการตั้งครรภ์ เรียกอาการแบบนี้ว่า อาการแพ้ท้อง
  • เกิดจากการดื่มสุรา เมื่อแอลกฮอล์เข้าสู่ร่างกายซึมเข้าสู่เส้นเลือด มากทำให้ร่างกายเสียการทรงตัว เวียนหัว จนอวดออกมา

อาการคลื่นไส้ และ อาเจียน นั้นเป็นลักษณะอาการของโรค ดังต่อไปนี้

โรคอะคาเลเซีย โรคระบบทางเดินอาหาร กินข้าวไม่ได้ โรคไม่ติดต่อโรคอะคาเลเซีย ไขมันพอกตับ ไตรกรีเซอไรด์ในเลือดสูง ไขมันเกาะที่ตับ โรคตับไขมันพอกตับ
ตับอักเสบ โรคตับอักเสบ โรคเป็นพิษต่อตับ โรคตับตับอักเสบ โรคฝีที่ตับ โรคฝีตับ โรคตับ โรคติดเชื้อโรคฝีในตับ
ตับวาย ตับหล้มเหลว โรคตับ กินยาพาราเกินขนาดตับวาย อุ้งเชิงกรานอักเสบ ปวดท้องน้อย มีเซ็กส์กับคนเป็นหนองใน โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อุ้งเชิงกรานอักเสบ
ท้องผูก ขี้ไม่ออก ขี้แข็ง อาการถ่ายอุจจาระไม่ออกท้องผูก โรคฝีในสมอง โรคสมอง โรคติดเชื้อ ฝีที่สมองฝีในสมอง
โรคซีวีเอ โรคอัมพาต ภาวะสมองขาดเลือด โรคสมองขาดเลือดโรคสมองขาดเลือด มะเร็งช่องปาก โรคมะเร็ง โรคในช่องปาก เป็นมะเร็งช่องปากมะเร็งช่องปาก
โรคพิษสุนัขบ้า โรคกลัวน้ำ โรคติดต่อ โรคติดเชื้อโรคพิษสุนัขบ้า โรคพยาธิใบไม้ในปอด โรคพยาธิ โรคปอด โรคในทรงอกโรคพยาธิใบไม้ในปอด
มะเร็งลำไส้เล็ก โรคระบบทางเดินอาหาร โรคมะเร็ง เนื้อร้ายมะเร็งลำไส้เล็ก ลำไส้เล็กอุดตัน โรคระบบทางเดินอาหาร โรคไม่ติดต่อ โรคลำไส้โรคลำไส้เล็กอุดตัน
ลำไส้ขาดเลือด ไส้เน่า โรคระบบทางเดินอาหาร โรคไม่ติดต่อโรคลำไส้ขาดเลือด ลำไส้อักเสบ โรคระบบทางเดินอาหาร โรคไม่ติดต่อ โรคลำไส้โรคลำไส้อักเสบ
โรคไส้เลือน โรคระบบทางเดินอาหาร โรคลำไส้ โรคไม่ติดต่อโรคไส้เลือน มะเร็งกระเพาะอาหาร โรคระบบทางเดินอาหาร โรคไม่ติดต่อ การรักษามะเร็งมะเร็งกระเพาะอาหาร
โรคกระเพราะ แผลในกระเพาะอาหาร แผลเป็บติค โรคระบบทาเดินอาหารแผลในกระเพาอาหาร มะเร็งหลอดอาหาร โรคมะเร็งหลอดอาหาร โรคมะเร็ง โรคไม่ติดต่อมะเร็งหลอดอาหาร
โรคหลอดอาหารอักเสบ โรคระบบทางเดินอาหาร โรคไม่ติดต่อ แสบคอโรคหลอดอาหารอักเสบ นิ่วในไต โรคไต โรคในช่องท้อง โรคไม่ติดต่อโรคนิ่วในไต
ถุงน้ำในไต โรคไต โรคไม่ติดต่อ โรคที่ช่องท้องโรคถุงน้ำในไต ไตวายเรื้อรัง โรคไต โรคไม่ติดต่อ ไตอักเสบไตวายเรื้อรัง
โรคคุชชิง กลุ่มอาการคุชชิง อาการหน้าบวม โรคไม่ติดต่อโรคคุชชิง โรคแอดดิสัน โรคต่อมหมวกไต โรคฮอร์โมน โรคไม่ติดต่อโรคแอดดิสัน
ต่อมทอนซิลอักเสบ โรคติดเชื้อ ต่อมทอนซิล เจ็บคอต่อมทอนซิลอักเสบ โรคหูน้ำหนวก โรคหูชั้นกลางอักเสบ โรคหู โรคหูคอจมูกโรคหูน้ำหนวก
โรคประสาท โรคสมอง โรคไม่ติดต่อ รักษาโรคประสาทโรคประสาท โรคเวียนศีรษะ โรคหู บ้านหมุน โรคไม่ติดต่อโรคบ้านหมุน
โรคสมองอักเสบ โรคสมอง โรคติดเชื้อ ภาวะสมองอักเสบโรคสมองอักเสบ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ โรคสมอง โรคติดเชื้อโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
ตับแข็ง ภาวะตับแข็ง โรคตับแข็ง โรคตับโรคตับแข็ง ไทยรอยด์ โรคต่อมไทรอยด์ โรคระบบฮอร์โมน เจ็บคอโรคไทรอยด์
ช่องท้องอักเสบ เยื่อบุท้องอักเสบ โรคระบบทางเดินอาหาร โรคไม่ติดต่อโรคช่องท้องอักเสบ ตับอ่อนอักเสบ โรคตับ การติดเชื้อ อาการโรคตับโรคตับอ่อนอักเสบ
โรคถุงน้ำดีอักเสบ โรคติดเชื้อ โรคในช่องท้อง โรคระบบทางเดินอาหารโรคถุงน้ำดีอักเสบ ติดเชื้อในกระแสเลือด ติดเชื้อในกระแสดลหิต โรคติดเชื้อโลหิตเป็นพิษ
โรคหูดับ โรคหูดับเฉียบพลัน โรคหู ไม่ได้ยินเสียงโรคหูดับ กาฬโรค โรคติดต่อ โรคติดเชื้อ วิธีรักษากาฬโรคโรคกาฬโรค
ไข้กาฬหลังแอ่น โรคติดต่อ โรคติดเชื้อ โรคระบบทางเดินหายใจโรคไข้กาฬหลังแอ่น ไข้รากสาดน้อย ไข้หัวโกร๋น ไข้ไทฟอยด์ โรคติดเชื้อไข้ไทฟอยด์
โรคอีโบล่า โรคติดต่อ โรคติดเชื้อ ติดเชื้อไวรัสอีโบล่าติดเชื้อไวรัสอีโบล่า ไข้หวัดนก H5N1 โรคติดต่อ โรคระบาดไข้หวัดสายพันธุ์ใหม่H5N1
โรคฝีดาษ ไข้ทรพิษ โรคติดต่อ โรคระบาดโรคฝีดาษ โรคมือเท้าปาก โรคปากเปื่อยเท้าเปื่อย โรคติดต่อ โรคติดเชื้อโรคมือเท้าปาก
ไข้เลือดออก โรคติดต่อ โรคติดเชื้อ ยุงลายกัดโรคไข้เลือดออก โรคต้อหิน โรคตา ตาต้อ โรคเกี่ยวกับดวงตาโรคต้อหิน
โรคกระเพาะอักเสบ โรคระบบทางเดินอาหาร โรคไม่ติดต่อ ปวดท้องโรคกระเพาะอาหารอักเสบ ไวรัสตับอักเสบ โรคติดเชื้อ โรคติดต่อ โรคตับ โรคไวรัสตับอักเสบบี
ไส้ติ่งอักเสบ โรคไม่ติดต่อ โรคในช่องท้อง โรคระบบทางเดินอาหารโรคไส้ติ่งอักเสบ

การป้องกันการคลื่นไส้และอาเจียน

สำหรับอาการคลื่นไส้อาเจียน สามารถป้องกันภาวะนี้ได้ ด้วยวิธีการดังต่อไปนี้

  • พักผ่อนให้เพียงพอ
  • ผ่อนคลายและพยายามอย่าเครียด
  • ไม่ควรนอนราบ เนื่องจาก การนอนราบจะทำให้อาเจียนออกมาง่าย
  • หากมีอาการอ้วกอยู่ ให้กินยาบรรเทาอาการอ้วก แต่ต้องกินยาตามคำสั่งแพทย์
  • หลีกเลี่ยงการถูกกระตุ้นให้เกิดอาการคลื่นไส้อาเจียน
  • ปรับสภาพสิ่งแวดล้อมรอบตัว ให้มีอากาศถ่ายเทสะดวก ไม่มีกลิ่นอับ
  • กินอาหารที่สะอาด ถูกสุขลักษณะ
  • ดื่นน้ำให้เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย

ฝีในสมอง ฝีสมอง ( Brain abscess ) ติดเชื้อโรคที่สมองจนเกิดฝี ทำให้สมองอักเสบ โรคอันตรายเสียชีวิตได้ อาการปวดหัวอย่างรุนแรง แขนขาอ่อนแรง ชัก หมดสติ ส่งแพทย์ด่วน
โรคฝีในสมอง โรคสมอง โรคติดเชื้อ ฝีที่สมอง

โรคฝีในสมอง เกิดจากการการติดเชื้อที่สมอง ภาษาอังกฤษ เรียก Brain abscess เชื้อโรค คือ เชื้อแบคทีเรีย strephyloccus ทำให้พิการ หรือ เสียชีวิตได้ หากมีอาการ ปวดศรีษะอย่างรุนแรง มีไข้ แขนขาอ่อนแรง ชัก อย่าเบาใจให้รีบพบแพทย์ด่วน

ฝีในสมอง โรคเกี่ยวกับการติดเชื้อ ที่สมอง โรคนี้ ผู้ป่วยประมาณไม่เกินร้อยละ 20 จะมีฝีที่สมองมากกว่าหนึ่งจุด และร้อยละ 92 ของผู้ป่วยฝีในสมองพบฝีที่สมองเล็กด้านหน้า โรคอันตรายจากเชื้อแบคทีเรีย ร้อยละ 60 ของผู้ป่วยมีโอกาสเป็นอัมพาตครึ่งซีก โรคฝีในสมอง ดาราเคยเป็นข่าวใหญ่คร่าชีวิต บิก ดีทูบี มาแล้ว เรามาทำความรู้จักกับโรคฝีในสมองกันว่า สาเหตุของโรค ปัจจัยเสี่ยง อาการและการรักษาโรคทำอย่างไร

โรคฝีสมอง เป็น ภาวะติดเชื้อ ซึ่งสามารถเกิดจากเชื้อราหรือเชื้อแบคทีเรียก็ได้ โดยเป็นการสร้างเชื้อโรคจนเกิดอาการอักเสบที่สมอง ส่งผลต่ออาการผิดปกติของระบบประสาท ลักษณะการก่อตัวของเชื้อเป็นแบบฝี หนอง ในเนื้อสมอง อันตรายส่งผลร้ายแรงถึงเสียชีวิต โรคฝีในสมอง นั้นไม่ใช่โรคปรกติที่เกิดกับคนทั่วไป แต่สามารถเกิดขึ้นได้กับทุกคน แต่ในการเกิดอุบัตติเหตุ โรคหูน้ำหนวก และโรคหัวใจพิการ มีอัตราเสี่ยงสูงในการเกิดโรคนี้ เรามาดูสาเหตุของการเกิดโรคฝีในสมองว่ามีสาเหตุจากอะไรบ้าง

สาเหตุของการเกิดฝีในสมอง

สำหรับสาเหตุของการเกิดฝีในสมองนั้น มีหลายสาเหตุที่ทำให้เกิดการติดเชื้อที่สมอง ซึ่งเราสามารถแยกสามเหตุหลักๆ ได้ 3 ประการ คือ การติดเชื้อที่อวัยวะที่ใกล้และเกี่ยวข้องกับสมอง การติดเชื้อในกระแสเลือด และการติดเชื้อที่สมองโดยตรง รายละเอียดของสาเหตุข้อต่างๆ มีดังนี้

  • การติดเชื้อของอวัยวะใกล้เคียงกับสมอง เป็นลักษณะการแพร่กระจายเชื้อโรคเข้าสู่สมอง อวัยวะที่ต้องป้องกันไม่ให้ติดเชื้อ เนื่องจากอาจทำให้สมองติดเชื้อได้ คือ หู ฟัน ใบหน้า หัว เป็นต้น
  • การติดเชื้อในกระแสเลือด ซึ่งการเกิดภาวะพิษที่เลือดสามารถกระจายสู่สมองได้ง่ายมาก การติดเชื้อในกระแสเลือด เป็นโรคอันตรายส่งผลต่อระบบการทำงานทั้งหมดในร่างกาย
  • การติดเชื้อที่สมองโดยตรง เป็นลักษณะของการเกิดอุบัตติเหตุ เกิดการกระแทกอย่างรุนแรง ทำให้เขื้อโรคสามารถเข้าสู่ร่างกายได้ทั้งทางแผลที่หัว หรือเลือดที่เกิดในอุบัตติเหตุ รวมถึงภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัดสมอง

กลไกของฝีเกิดขึ้นได้อย่างไร

กระบวนการทางพยาธิวิทยานั้นสามารถกลับมาปรกติได้ใน 3 วัน ตั้งแต่เริ่มเกิดการอักเสบที่สมอง หากการไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้องและเหมาะสมนั้น จะทำให้สมองอักเสบมากขึ้น ซึ่งจะเกิดหนอง

ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคฝีในสมอง

สำหรับปัจจัยของการเกิดโรคฝีในสมองนั้น มีหลายส่วนทั้งที่สามารถควบคุมได้และควบคุมไม่ได้ แต่เราก็รวมปัจจัยของการเกิดโรคฝีในสมองว่ามีอะไรบ้าง เพื่อจะสามารถป้องกันการเกิดปัจจัยเสี่ยงของโรคได้

  • ภาวะภูมิต้านทานร่างกายต่ำ ซึ่งปัจจัยนี้เกิดจากร่างกายที่อ่อนแอ สามารถควบคุมได้ด้วยการออกกำลังกายและรับประทานอาหารที่มีประโยชนืต่อร่างกาย
  • ภาวะการติดเชื้อในอวัยวะส่วนที่เชื่อมโยงกับสมองและใกล้สมอง เช่น หู ไซนัส ฟัน เหงือก แผลที่ศรีษะ เป็นต้น
  • โรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ
  • โรคหัวใจ
  • การติดเชื้อในกระแสเลือดหรือภาวะโลหิตเป็นพิษ
  • อุบัติเหตุที่กระทบกระเทือนสมองอย่างรุนแรง

อาการของผู้ป่วยโรคฝีในสมอง

สำหรับอาการของโรคฝีในสมองจะส่งผลกระทบกับระบบประสาทเป็นหลัก ซึ่งอาการที่พบเห็นในกรณีที่ไม่ได้เกิดอุบัติเหตุถึงขั้น โคม่า จะพบอาการ คือ เวียนหัว เสียการทรงตัว ปวดหัวอย่างรุนแรง มีไข้สูง แขนขาอ่อนแรง สายตาพร่ามัว คลื่นไส้อาเจียน มีอาการชัก มีหนองไหลจากหู เป็นต้น

หากพบว่ามีอาการปวดศีรษะอย่างรุนแรง มีไข้สูง แขนขาอ่อนแรง ให้รีบนำตัวส่งโรงพยาบาลด่วนที่สุด

การวินิจฉัยโรคฝีในสมอง

การวินิจฉัยเพื่อวิเคราะห์หาโรค ซึ่งโรคฝีสมองนั้น สามารถพิจารณาจากอาการผิดปรกติ ประวัติทางการแพทย์ ที่การตรวจเอกเซเลย์สมอง ทำการแสกนเอ็มอาร์ไอ

การรักษาโรคฝีในสมอง

การรักษาโรคฝีในสมองนั้น ผู้ป่วยต้องเข้ารับการรักษาโรคฝีในสมอง ที่โรงพยาบาลตลอดเวลาและรักษาในห้องปลอดเชื้อโรค สำหรับการรักษานั้น รักษาด้วยการให้ยาต้านจุลชีพ โดยจะให้ยาต้าลจุลชีพ ประมาณ 45 วัน หรือให้จนกว่าฝีที่สมองจะหาย

ในกรณีที่ผู้ป่วยโรคฝีในสมองไม่ตอบสนองต่อยาต้านจุลชีพ แพทย์จะทำการผ่าตัดสมอง เพื่อนำก้อนเนื้อฝีออกให้หมด แต่การรักษาต้องรักษาโรคพร้อมกับควบคุมการเกิดโรคแทรกซ้อน อย่าง โรคหูน้ำหนวก โรคหัวใจ เพื่อป้องกันไม่เกิดฝีที่สมองซ้ำอีก การรักษาโรคฝีในสมองนั้น หากรักษาช้าหรือไม่ถูกวิธี ส่วยมากผู้ป่วยจะเสียชีวิตทุกราย แต่หากรักษาได้ จะพบว่ามีผลข้างเคียงต่อระบบประสาทเช่น แขนขาอ่อนแรง หรือ อาการชัก เป็นต้น

การดูแลผู้ป่วยโรคฝีในสมอง

การดูแลผู้ป่วยโรคฝีในสมองนั้น จำเป็นต้องควบคุมปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรคอย่างเคร็งคลัด

  • จัดสถานที่ให้สะดวกต่อการใช้ชีวิตประจำวัน เนื่องจากผู้ป่วยจะมีร่างกายที่ผิดปรกติ เช่น แขน ขาอ่อนแรง ต้องจัดสถานที่ให้สะดวกเพื่อป้องกันอุบัตติเหตุ
  • ให้ทำกายภาพบำบัดอย่างสม่ำเสมอ
  • ต้องพกยากันอาการชักติดตัวเสมอ อย่าให้ขาดยา
  • รักษาสุขอนามัยพื้นฐานให้ดี เพื่อลดโอกาสการเกิดฝีสมอง อีกครั้ง
  • พาผู้ป่วยพบแทย์ตามนัดอย่างสม่ำเสมอ
  • หากพบอาการผิดปรกติมากขึ้น เช่น ผู้ป่วยมีอาการปวดศีรษะอย่างรุนแรง แขนขากลับมาอ่อนแรงอีก มีอาการชักบ่อยขึ้น ให้พบแพทย์เพื่อรับการรักษา

การป้องกันโรคฝีในสมอง

สำหรับการป้องกันการเกิดโรคฝีในสมอง นั้นเราต้องป้องกันปัจจัยทั้งหมดที่สามารถควบคุมได้ โดยการป้องกันโรคฝีในสมองมีดังนี้

  • ใช้ชีวิตอย่างระมัดระวัง ป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ โดยเฉพาะที่ศีรษะ
  • ดูแลร่างกายให้แข็งแรง เพื่อให้ร่างกายสามารถมีภูมิต้านทานโรค
  • รับประทาออาหารที่มีประโยชน์และรักษาสุขอนามัยพื้นฐานในสถานที่ที่อยู่อาศัยให้ดี

โรคฝีในสมอง การติดเชื้อที่สมอง เป็นโรคที่คร่าชีวิตดาราชื่อดังอย่าง บิกดีทูบี โรคที่เกิดกับสมองนั้นรุนแรงเสมอไม่ว่าจะโรคอะไร การรักษานั้นก็สามารถทำได้แต่ผู้ป่วยมักไม่เหมือนเดิม หรือ ใช้เวลานานในการเข้าสู่ภาวะปรกติ โรคเกี่ยวกับระบบประสาทและสมอง ยังมีอีกหลายโรคที่อยากแนะนำให้รู้จัก โรคเกี่ยวกับระบบประสาทและสมอง มีดังนี้

โรคสมอง โรคระบบประสาท โรคพาร์กินสัน พาร์กินสันโรคพาร์กินสัน โรคเกี่ยวกับระบบประสาท โรคไม่ติดต่อ แต่สามารถถ่ายทอดทางพันธุ์กรรมได้ โรคของกลุ่มอาการที่มีการสั่นของมือและการเคลื่อนไหวตัวได้น้อย ความจำเสือม อัลไซล์เมอร์ โรคสมอง โรคความจำโรคอัลไซเมอร์ ไม่ใช่โรคติดต่อ แต่สามารถถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้ ซึ่งโรคนี้เป็นโรคที่เกี่ยวกับภาวะสมองเสื่อม ผู้ป่วยโรค จะมีอาการ เช่น ความจำเสื่อม หลงลืม
โรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง โรคสมอง ระบบประสาท หลอดเลือดโรคกล้ามเนื้ออ่อนแรง โรคเอมจี โรคภูมิต้านทานตัวเอง ชนิดเรื้อรัง ทำให้ไม่สามารถควบคุมการเคลือนไหวของแขน ขา ดวงตา ใบหน้า โคม่า เจ้าชายนิทรา โรคสมอง โรคต่างๆอาการโคม่า โรคเกี่ยวกับระบบสมอง และ ระบบประสาทมาพอสมควรแล้ว อาการหนึ่งที่ควรทความรู้จักกัน คือ อาการโคม่า อาการโคม่าเป็นอย่างไร
หมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท โรคระบบประสาท โรคกระดูกหมอนรองกระดูกทับเส้นประสาท ปวดหลัง ปวดร้าวลงที่ขา ปวดไปถึงน่อง ปวดหลังเท้า เจ็บข้อพับด้านหลัง นิ้วเท้าชา อาการของ โรคกระดูกสันหลังทับเส้นประสาท เยื่อหุ้มสมองอักเสบ โรคสมอง โรคติดเชื้อโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ โรคติดเชื้อ ภาวะการอักเสบของเยื่อหุ้มสมอง เกิดจากการติดเชื้อ อาการ มีไข้สูง ปวดหัวรุนแรง คอแข็ง คลื่นไส้ อาเจียน กลัวแสง ชัก หมดสติ

โรคฝีในสมอง ฝีในสมอง ฝีสมอง ( Brain abscess ) ภาวะติดเชื้อที่สมอง เชื้อรา หรือ เชื้อแบคทีเรีย ทำให้สมองอักเสบ ลักษณะของเชื้อเป็นแบบ ฝี หนอง ในเนื้อสมอง ร้ายแรงทำให้เสียชีวิตได้ การติดเชื้อที่สมอง ปวดศรีษะอย่างรุนแรง มีไข้ แขนขาอ่อนแรง ชัก รีบพบแพทย์ด่วน โรคระบบสมอง สาเหตุ อาการ การรักษา


ขายถุงกระสอบ ถุงสายรุ้ง ย้ายหอ ย้ายบ้าน ต้องการถุงกระสอบ ถุงกระสอบราคาโรงงาน
ติดต่อ ทรัพย์ทวี Line Id : nongnlove