ทักษะการอ่าน เป็นสิ่งสำคัญสำหรับลูกน้อย เทคนิคในการแก้ไขปัญหา เรื่อง ลูกอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ มีเทคนิคง่ายๆ ช่วยให้ปัญหานี้หมดไป ด้วยการใส่ใจในลูกให้มากขึ้น

การเลี้ยงลูก ปัญหาการอ่อนหนังสือ ลูก่อานหนังสือไม่ออก

ถ้าได้ส่งเสริมลูกให้มี นิสัยรักการอ่าน ตั้งแต่ยังเล็ก ประเด็น ปัญหาการอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ของลูก …คงไม่ใช่ ปัญหาใหญ่ อีกต่อไป….แม้จะมีข่าวด้าน การศึกษาของเด็ก ไทยตกต่ำ หรือเด็ก อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ มีจำนวนมากขึ้นในปัจจุบันก็ตาม ปัญหาเหล่านี้พ่อแม่ คงกังวลไม่น้อยถ้าลูกมีปัญหาดังกล่าว

 

อ่านไม่ออกเขียน  เขียนไม่ได้แก้ไขอย่างไร

เมื่อการอ่าน ถือเป็นจุดเริ่มต้นขอ งการส่งเสริม ลูกให้มี ทักษะรอบด้าน ทั้งการสังเกต  การเรียนรู้  การลำดับความ  สู่การประมวลความคิดรวบยอดจึงจะเรียกว่าเป็นการอ่านที่สมบูรณ์  การเกิดการเรียนรู้การอ่านในแต่ละครั้งจะต้องมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น 3 ประการกับลูก คือ

  1. การเปลี่ยนแปลงทางด้านความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ( cognitive domain ) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในสมอง เช่น ความคิดรวบยอด
  2. การเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์หรือความรู้สึก ( affective domain ) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจ เช่น ความเชื่อเจตคติ ค่านิยม
  3. การเปลี่ยนทางการเคลื่อนไหวของร่างกาย ( psychomotor domain ) เพื่อให้เกิดทักษะ และ ความชำนาญ เช่น การว่ายน้ำ เล่นกีฬา

วิธีสร้างสรรค์ง่ายๆ ในการสร้างนิสัยรักการอ่านของลูก

  • สร้างเรื่องอ่าน ….. เป็นการเล่น ควรมองการเล่นของลูก เป็น หนังสือ ประเภทต่าง ๆ เพื่อดึงดูดความสนใจ เช่น หนังสือมีเสียง  มีรูปภาพ  รูปทรงและพื้นผิวน่าสัมผัส  สีสันสดใส  แล้วหยิบยื่นให้ลูกสู่การสัมผัสคล้ายการเล่นของเล่นตามปกติ  วิธีนี้สามารถช่วยกระตุ้นความอยากรู้อยากเห็น และลูกก็จะหยิบ อ่านหนังสือ แทนของเล่นนั่นเอง
  • สร้างสิ่งแวดล้อม …. เสริมการอ่าน การสร้างสิ่งแวดล้อม ใน การอ่าน ถือเป็นสิ่งสำคัญ ที่ พ่อแม่ ควรจัดสิ่งแวดล้อมรอบตัวลูกให้มี หนังสือ เพื่อกระตุ้น การพบเห็น สร้างความคุ้นเคย และทำความรู้จักกับหนังสือต่างๆ มากขึ้น เช่น เวลานั่งเล่น พ่อแม่ อาจหาหนังสือที่หลากหลาย เน้นสีสันวางไว้รอบๆ ตัวลูก เพื่อให้ลูกรู้จักการหยิบจับสู่การสำรวจ และนำสู่การอ่าน
  • สร้างบรรยากาศจูงใจ … ให้อยากอ่าน บรรยากาศอาจมองเป็น เรื่องทางอามรณ์ และ ความรู้สึกของลูก  แต่ การสร้างบรรยากาศ เป็น จิตวิทยาทางด้านจิตใจ อย่างหนึ่งที่ไม่ควรมองข้าม  พ่อแม่ ควรจัด มุมอ่านหนังสือ ของลูกภายในบ้าน  สร้างความเป็นกันเองใน การอ่านหนังสือ ร่วมกัน  บรรยากาศจึงมีความสัมพันธ์ในการ สร้างแรงจูงใจในการอ่าน ของลูก
  • สร้างน้ำเสียงน่าฟัง … สร้างนักอ่าน อาจมีหลายครั้งที่ลูก สนใจการอ่านหนังสือ แต่ลูกกลับ ไม่ยอมอ่านหนังสือ เอง  พ่อแม่ จึงควรอ่านเป็นแนวทางให้ลูก ด้วยการใช้น้ำเสียงให้น่าฟัง และมีความแตกต่างจากอ่านแบบธรรมดา สู่ การอ่าน แบบเล่าเรื่องคล้ายนิทาน การส่งเสริมการอ่าน ลักษณะนี้ลูกจะชอบมาก  เพราะ ลูกมักจะสร้างจินตภาพจาก การอ่าน และ การฟัง สู่การประมวลผลการรับรู้นั่นเอง

ทักษะการอ่าน เป็นสิ่งสำคัญสำหรับลูกน้อย เทคนิคในการแก้ไขปัญหา เรื่อง ลูกอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ มีเทคนิคง่ายๆ ช่วยให้ปัญหานี้หมดไป การเลี้ยงลูก ไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป

“สร้างนิสัย รักการอ่าน สำหรับลูกน้อย….สู่ การเรียนรู้ การอ่าน อย่างสร้างสรรค์”

 

การเลี้ยงลูก ตั้งแต่เริ่มต้นตั้งแต่ปัญหาจนถึงการเลี้ยงลูกให้มีพัฒนาการที่ดี แข็งแรง สมบรูณ์ทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ การเลี้ยงลูกนั้น มีรายละเอียดที่แตกต่างกันตามช่วงอายุของลูก การจะสร้างลูกให้เจริญเติบโตขึ้มมาพร้อมกับพัฒนาการที่ดี เป็นคนเก่ง มีพัฒนาการด้านร่างกาย สมองและอารมณ์ ที่ดี จำเป็นต้องเข้าใจเด็ก อย่างถูกต้อง

หลอดอาหารอักเสบเกิดจากการติดเชื้อโรค เช่น รา แบคทีเรีย ไวรัส หรือ ภาวะกรดไหลย้อย อาการเจ็บคอ แน่นหน้าอก เหมือนมีก้อนตรงอก กลืนอาหารลำบาก การรักษาทำอย่างไรโรคหลอดอาหารอักเสบ โรคระบบทางเดินอาหาร โรคไม่ติดต่อ แสบคอ

โรคหลอดอาหารอักเสบ ภาษาอังกฤษ เรียก esophagitis โรคหลอดอาหารอักเสบ คือ ภาวะการอักเสบที่เยื่อบุอาหาร โดย สาเหตุเกิดจากการติดเชื้อ เช่น เชื้อรา เชื้อแบคทีเรีย และ เชื้อไวรัส หรือ ภาวะกรดไหลย้อย ส่วนการใช้บางชนิดก็สามารถ ทำให้เกิด โรคหลอดอาหารอักเสบ ได้

อาการของโรคหลอดอาหารอักเสบ

นั้น ผู้ป่วย จะมีอาการ เจ็บ และ กลืนอาหารลำบาก เหมือนมีก้อนอะไรบางอย่างอยู่ในอก คลื้นไส้ อาเจียน และ มีแผลในปาก เป็นต้น

สาเหตุของการเกิดโรคหลอดอาหารอักเสบ

สำหรับ สาเหตุของโรคหลอดอาหารอักเสบ คือ การอักเสบที่คอ เชื้อโรคต่างๆในคอ และ หลอดอาหาร จึงทำให้เกิด อาการอักเสบ อาการหลอดอาหารอักเสบ จะเกิดง่ายกับคนที่มี ภูมิคุ้มกันอ่อนแอ เช่น ผู้ป่วยโรคเบาหวาน ผู้ป่วยโรคเอดส์ เป็นต้น นอกจาก ร่างกายอ่อนแอ เป็น สาเหตุของการติดเชื้อ แล้ว โรคหลอดอาหารอักเสบ เป็น โรคแทรกซ้อน จากการเกิดโรคอื่นๆ ด้วย เช่น การติดเชื้อเริม โรคกรดไหลย้อน การอาเจียน

การตรวจโรค เพื่อทำ การวินิจฉัย โรคหลอดอาหารอักเสบ นั้น สามารถทำได้โดย การส่องกล้องดูหลอดอาหาร และ การตัดชิ้นเนื้อตรวจ

การรักษาโรคหลอดอาหารอักเสบ

สามารถทำได้โดย การให้ยารักษา อาการของโรค และ การให้สารอาหารทดแทน ปัญหาการกินอาหารลำบาก ซึ่ง ยา ที่ใช้ใน การรักษา คือ ให้ยาลดกรด ให้ยาฆ่าเชื้อรา ยาปฏิชีวนะในการฆ่าเชื้อโรค ยาแก้ปวด ยาลดการบวม เป็นต้น

การดูแลตัวเองสำหรับผู้ป่วยโรคหลอดอาหารอักเสบ

สำหรับผู้ป่วยหลอดลมอักเสบ สามารถปฏิบัติ ได้ดังนี้

  • ลดการบริโภค อาหารรสจัด เช่น อาหารเปรี้ยว หรือ อาหารเผ็ด
  • ลดการบริโภค ผลไม้ ที่มีวิตามินซีสูง เนื่องจาก วิตามินซี ทำให้ระคายเคือง มากขึ้น
  • หลีกเลี่ยงการกินอาหารที่แข็ง เช่น ถั่ว ของทอด ต่างๆ เป็นต้น
  • รับประทานอาหารที่ย่อยง่าย
  • ดื่มน้ำ ช่วยในการกลืนอาหารลำบาก

กลืนลําบาก เกิดจาก , กลืนลําบาก จุกคอ , มะเร็งทางเดินอาหาร อาการ , คอบวม กลืนลําบาก , ca esophagus , มะเร็งคอ , esophagitis คือ , esophageal cancer

โรคเกี่ยวกับ ระบบทางเดินอาหาร

ไข้รากสาดน้อย ไข้หัวโกร๋น ไข้ไทฟอยด์ โรคติดเชื้อไข้รากสาดน้อย
ไข้ไทฟอยด์
โรคกาลี โรดแอนแทรก โรคติดต่อ โรคติดเชื้อโรคกาลี
โรคแอนแทรกซ์
โรคท้องร่วง โรคติดเชื้อ อุจจาระร่วง ขี้แตกโรคท้องร่วง จากเชื้ออีโคไล(E. coli)
โรคถุงน้ำดีอักเสบ โรคติดเชื้อ โรคในช่องท้อง โรคระบบทางเดินอาหาร
ถุงน้ำดีอักเสบ
ตับแข็ง ภาวะตับแข็ง โรคตับแข็ง โรคตับโรคตับแข็ง
ช่องท้องอักเสบ เยื่อบุท้องอักเสบ โรคระบบทางเดินอาหาร โรคไม่ติดต่อ
ช่องท้องอักเสบ

โรคหลอดอาหารอักเสบ สามารถรักษาอย่างไร ต้องทำอย่างไร เมื่อเป็น โรคหลอดอาหารอัดเสบ

หลอดอาหารอักเสบ คือ ภาวะการอักเสบที่เยื่อบุอาหาร สาเหตุเกิดจากการติดเชื้อโรค เช่น เชื้อรา เชื้อแบคทีเรีย และ เชื้อไวรัส หรือ ภาวะกรดไหลย้อย อาการของหลอดลมอักเสบ ทำให้เกิด อาการเจ็บคอ แน่นหน้าอก เหมือนมีอะไรเป็นก้อนตรงอก กลืนอาหารลำบาก การรักษาโรคหลอดลมอัหเสบ และ การดูแลตนเองเมื่อป่วยโรคหลอดลมอักเสบ