ปวดปลายประสาทหลังจากโรคงูสวัส ( Postherpetic Neuralgia ) เป็นอาการป่วยที่เกิดหลังจากป่วยโรคงูสวัส อาการมีผื่นขึ้นและปวดที่บริเวณผื่นนั้นๆ มีอาการชา และ ปวดมากโรคปวดปลายประสาท โรคงูสวัด โรคติดเชื้อ โรคระบบประสาท

โรคปวดปลายประสาทหลังจากเป็นโรคงูสวัส ภาษาอังกฤษ เรียก Postherpetic Neuralgia เป็นภาวะปวดที่ปลายประสาทโดยอาการจะปวดแสบ เหมือนของแหลมแทง ซึ่งผู้ป่วยจะมีอาการหลายเดือน จะเกิดกับผู้สูงอายุ ที่อายุ 50 ปีขึ้นไป ปัจจัยเสี่ยงที่มำให้เกิดโรคนี้ คือ อายุ การเกิดผื่นบริเวณใบหน้า การรักษาโรคงูสวัสช้าเกินไป  เป็นต้น โรค นี้ไม่มีอันตรายถึงชีวิต แต่ถ้าหากรักษาโดยวิธีที่ไม่ถูกต้อง เช่น การใช้สมุนไพรประคบแผล การอาบน้ำมนต์ อาจทำให้ติดเชื้อมากขึ้น ทำให้เกิด ภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด ได้ อันนี้แหละที่เป็นอันตรายถึงชีวิต

ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรค

สาเหตุของโรคปวดปลายประสาท หลังจากเป็นโรคงูสวัส พบว่า มีปัจจัยของการเกิดโรค ดังนี้

  1. ผู้สูงอายุของผู้ป่วย ยิ่งอายุมาก และเคยเป็นงูสวัด มาก่อน มีโอกาสเกิดอาการปวดปลายประสาท
  2. ตำแหน่งดรคงูสวัด หากเกิดที่ตาและหน้าอก มีโอกาสสูงที่จะเกิดปวดปลาประสาท
  3. มีประวัติการรักษาโรคงูสวัดล่าช้า มีโอกาสที่จะเกิด อาการปวดปลายประสาท
  4. เพศ พบว่าเพศหญิงมีโอกาสเกิดอาการปวดปลายประสาทจากโรคงูสวัดสูงกว่าเพศชาย

สาเหตุของการปวดปลายประสาทหลังจากเกิดโรคงูสวัส

สำหรับสาเหตุของการเกิดโรคนั้น ยังไม่สาเหตุที่ชัดเจน แต่สามารถสันนิฐาน ว่าเชื้อไวรัสเข้าไปทำลายเส้นประสาท ทำให้การทำงานของเส้นประสาท ไขสันหลัง และสมองไม่สัมพันธ์กัน กระทบกับการตอบสนองของระบบประสาทส่วนกลาง

อาการของผู้ป่วยปวดปลายประสาทหลังจากเป็นโรคงูสวัส

อาการของผู้ป่วย โรคปวดปลายประสาทหลังจากโรคงูประสาท คือ จะมีผื่นและปวดที่บริเวณผื่นนั้นๆ มีอาการเหมือนมีของแหลมๆ ทุ่มแทง บางคนจะมีอาการชา และปวดมาก ถึงแม้ว่าจะสัมผัสเบาๆ  ซึ่ง อาการปวดนี้ เกิดจากเส้นประสาทผิดปกติ อาจเกิดจากกลไกเส้นประสาท รากประสาท หรือจากสมองส่วนกลาง ที่ตอบสนองเร็วผิดปรกติ โดยอาการปวดสามารถแบ่งได้ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ ในกลุ่มของอาการปวดในขณะที่ยังมีแผลงูสวัสอยู่ และปวดในขณะที่แผลงูสวัสหายไปแล้ว  รายละเอียดดังนี้

  1. อาการปวด ที่เกิดขึ้นในขณะที่ยังมีแผลงูสวัดอยู่ เราเรียกว่า Herpetic neuralgia โดยอาการปวดจะมีตุ่มน้ำใส
  2. อาการปวดในขณะที่แผลงูสวดหายดีแล้ว พบว่ามีอาการปวดบริเวณที่เคยเป็นแผลงูสวัด โดยมีอาการปวดเหมือนการเป็นโรคงูสวัด เราเรียกว่า Post-herpetic neuralgia

การรักษาโรดปวดปลายประสาทหลัง จากเป็นโรคงูสวัส

สพหรับการรักษา โรดปวดปลายประสาทหลัง สามารถทำได้โดย การให้ยาแก้ปวด ให้ยาชา และให้ยาต้านไวรัสไปรักษาอาการปวดเส้นประสาท ด้วย

  1. ให้ยาต้านไวรัส ที่มีชื่อว่าอะไซ โคลเวียร์ (Acyclovir) อาการตุ่มน้ำใส และอาการปวด ก็หายได้เร็วขึ้น
  2. ให้ยารักษางูสวัด โดยแนะนำว่าไม่ควรนำสมุนไพรมาปิดแผล เนื่องจากอาจทำให้เกิดการติดเชื้อ ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคงูสวัส
  3. ให้ยารักษาอาการปวด เป็นยาแก้ปวดทั่วไป เช่น คาร์บามาซีปีน(Carbamazepine) อะมีทิพทีลีน (Amitriptyline) กาบาเพ็นติน (Gabapentin) ทรามอล(Tramal) เป็นต้น

การป้องกันการปวดหลังจากเป็นโรคงูสวัส

สามารถทำด้โดย การฉีดวัคซีนป้องกัน โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีโอกาสเกิดอาการงูสวัดได้สูง เช่น ผู้สูงอายุ คนที่มีภูมิต้านทานโรคต่ำ ผู้ป่วยโรคมะเร็งที่เข้ารับการทำเคมีบำบัด เป็นต้น แต่ในส่วนการป้องกันการปวด เส้นประสาทนั้น ต้องให้ยาต้านไวรัสAcyclovir วิธีนี้จะสามารถช่วยลดการเกิดโรคปวดปลายประสาทหลังจากเกิดโรคงูสวัดได้

สมุนไพรแก้ปวด

ซึ่งสมุนไพรแก้ปวดสามารถช่วยลดอาการปวดแผลจากผื่นคันตามแนวเส้นประสาท ได้ สมุนไพรที่ช่วยลดอาการปวด มีดังนี้

หอมหัวใหญ่ สมุนไพร สมุนไพรไทย พืชสมุนไพร
หอมหัวใหญ่
สะระแหน่ มินต์ สมุนไพร พืชสวนครัว
สะระแหน่
ฟักข้าว สมุนไพร สรรพคุณของฟักข้าว ประโยชน์ของฟักข้าวฟักข้าว
แคนา ต้นแคนา สมุนไพร ประโยชน์ของแคนา
แคนา
กระเทียม สมุนไพร สมุนไพรไทย เครื่องเทศ
กระเทียม
หญ้าคา สมุนไพร สมุนไพรไทย
หญ้าคา

โรคปวดปลายประสาทหลัง จาก โรคงูสวัส ( Postherpetic Neuralgia ) เกิดขึ้นหลังจากการเกิดโรคงูสวัส โดยอาการของโรค คือ มีผื่นและปวดที่บริเวณผื่นนั้นๆ มีอาการเหมือนมีของแหลมๆ ทุ่มแทง บางคนจะมีอาการชา และ ปวดมาก ถึงแม้ว่าจะสัมผัสเบาๆ  โรคนี้เกิดกับคนอายุ 50 ปี ขึ้นไป โรคเกี่ยวกับระบบประสาท สาเหตุของโรค อาการ การรักษาโรค

หน้าเบี้ยวครึ่งซีก ( Bell’s palsy ) การติดเชื้อไวรัสที่เส้นประสาทคู่ที่ 7 จนเกิดการอักเสบ เกิดจากการพักผ่อนไม่เพียงพอ ส่งผลให้กล้ามเนื้อใบหน้าอ่อนแรง หน้าเบี้ยวโรคหน้าเบี้ยวครึ่งซีก โรคหน้าเบี้ยว โรคระบบประสาท โรคอัมพาต์เบล
โรคหน้าเบี้ยวครึ่งซีก เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า โรคอัมพาตเบลล์ หรือ โรคใบหน้าเบี้ยว ภาษาอังกฤษ เรียก Bell’s palsy เป็น โรคเกี่ยวกับระบบประสาท ที่เกิดจากการบวมหรืออักเสบที่ประสาทของใบหน้า ซึ่งส่งผลให้เกิดอัมพฤกษ์ที่ใบหน้าด้านใดด้านหนึ่ง เป็นลักษณะของกล้ามเนื้อใบหน้าอ่อนแรง ทำให้หลับตาไม่สนิท ลืมตาไม่สะดวก มุมปากตก ปากเบี้ยวทานอาหารลำบาก โรคไม่ติดต่อ

สาเหตุที่มีให้เกิดโรคหน้าเบื้ยว

สาเกตุของกล้ามเนื้อหน้าไม่สามารถควบคุมได้ เกิดจาก การติดเชื้อไวรัส ที่ เส้นประสาทคู่ที่ 7 ที่อยู่บริเวณใบหน้า แต่โรคนี้สามารถหายได้ โดยการกิยยาลดการอักเสบของเส้นประสาท นอกจากการติดเชื้อไวรัส แล้วยังพบว่าสาเหตุอื่นที่มำให้เกิดโรคหน้าเบี้ยว คือ การเกิดอุบัติเหตุ การเกิดเนื้องอก ซึ่งในกลุ่มคนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคนี้สูง คือ ผู้ใหญ่ที่เป็นโรคเบาหวาน คนตั้งครรภ์ ผู้ป่วยโรคเอดส์ เป็นต้น

มาทำความรู้จักกับเส้นประสาทคู่ที่7 เส้นประสาทคู่ที่ 7 คือ เส้นประสาท ที่ทำหน้าที่ ควบคุมกล้ามเนื้อของใบหน้า ได้แก่ กล้ามเนื้อหน้าผาก รอบตา กล้ามเนื้อมุมปาก ใช้รับความรู้สึกของลิ้น ควบคุมการหลั่งน้ำลาย และน้ำตา ควบคุมการได้ยินเสียง

อาการของผู้ป่วยโรคหน้าเบี้ยวครึ่งซีก

อาการของโรคหน้าเบี้ยว คือ ปิดตาข้างหนึ่งลำบาก ตาแห้ง การรับรสลำบาก ควบคุมน้ำลายไม่ได้ การได้ยินเสียงลดลง ปวดหลังหูข้างที่อ่อนแรง อาการที่สังเกตุได้มากที่สุด คือ กล้ามเนื้อที่ใบหน้าด้านใดด้านหนึ่งอ่อนแรง

การรักษาโรคหน้าเบี้ยว

การรักษาโรคหน้าเบี้ยว สามารถรักษาได้โดยการให้ยาลดการอักเสบ กลุ่มยาสเตรอยด์ ภายใน 3 วันนับจากมีอาการ และให้ยาเพนนิโซลิน คือ ยาต้านไวรัส ในอีก 6 วันหลังจากนั้น และให้หยุดยา ผู้ป่วยสามารถหายได้เอง โดยการพักผ่อนให้ร่างกายใด้ซ่อมแซมตัวเอง และรักษาตัวจากเชื้อไวรัส

โรคนี้เกิดจาก การติดเชื้อไวรัส เนื่องจากหลายสาเหตุ แต่สาเหตุหนึ่งน่าจะ เกิดจากการพักผ่อนไม่เพียงพอ ซึ่ง การนอน เป็น การพักผ่อนที่ดีที่สุด เราจึงขอแนะนำ สมุนไพรช่วยให้นอนหลับ มีดังนี้

คาเคา โกโก้ สรรพคุณของโกโก้ สมุนไพรคาเคา โกฐเชียง สรรพคุณของตังกุย ตังกุย สมุนไพรตังกุย
ลูกสมอไทย สมอไทย ราชาสมุนไพร สมุนไพรไทยสมอไทย เก๋ากี้ สมุนไพร โกจิเบอร์รี่ สรรพคุณของโกจิเบอร์รี่เก๋ากี้ โกจิเบอร์รี่

โรคหน้าเบี้ยว เป็น โรคระบบประสาท โรคหนึ่ง สาเหตุที่แท้จริง เกิดจากการพักผ่อนไม่เพียงพอ ร่างกายเป็นสิ่งสำคัญที่สุดของชีวิตเรา จำเป็นต้องดูแลให้ปลอดโรคทั้งปวง โรคหน้าเบี้ยว โรคดารา สุดฮิตที่คนชอบพูดถึง อาทิ พลอย เฌอมาลย์  จ๊ะ จิตตาภา โอ อนุชิต และ ณัฐ AF4  โรคอัมพาตเบลล์ เป็น อาการเกิดอย่างเฉียบพลัน และ เกิดกับใบหน้าเพียงข้างเดียว ดังนั้น ถ้า อาการหน้าเบี้ยว ค่อยๆเกิดขึ้น ใช้เวลาเป็นหลายๆวัน

การป้องกันโรคอัมพาตเบลล์ หรือ โรคหน้าเบี้ยว
สำหรับ การป้องกันโรคหน้าเบี้ยว หรือ โรคอัมพาตเบลล์ เราไม่สามารถป้องกันโรคได้แบบเด็ดขาด เพราะว่า โรค นี้ยังไม่ทราบสาเหตุของการเกิดโรค อย่างชัดเจนนัด การป้องกันที่ดีที่สุด คือ ลดปัจจัยเสี่ยง ต่างๆ ดังนี้

  • ป้องกันโอกาสการติดเชื้อ ด้วยการรักษาสุขอนามัย สิ่งแวดล้อม ไม่ปอยู่ในจุดเสี่ยงของการติดเชื้อ
  • พักผ่อนให้เพียงพอ
  • รักษาโรคต่างๆ ที่เป็นปัจจัยเสี่ยง

โรคหน้าเบี้ยวครึ่งซีก โรคอัมพาตเบลล์  โรคใบหน้าเบี้ยว ( Bell’s palsy ) คือ ภาวะการติดเชื้อไวรัส ที่เส้นประสาทคู่ที่ 7 เป็นเส้นประสาทบริเวณใบหน้า จนเกิดการอักเสบของเส้นประสาทคู่ที่ 7 แต่สาเหตุที่แท้จริงเกิดจากการพักผ่อนไม่เพียงพอ ส่งผลให้เกิดอาการ กล้ามเนื้อใบหน้าอ่อนแรง หน้าเบี้ยวโรคระบบประสาท การรักษาโรคหน้าเบี้ยวทำอย่างไร การป้องกันการเกิดโรคหน้าเบี้ยว


ขายถุงกระสอบ ถุงสายรุ้ง ย้ายหอ ย้ายบ้าน ต้องการถุงกระสอบ ถุงกระสอบราคาโรงงาน
ติดต่อ ทรัพย์ทวี Line Id : nongnlove