กระเพรา ผักสวนครัว สมุนไพร ประโยชน์มากมายนิยมทำอาหาร

กระเพรา ( Sacred Basil ) ผักสวนครัว สมุนไพร ใบมีกลิ่นหอม สรรพคุณแก้ท้องอืดท้องเฟ้อ ช่วยขับลม คุณค่าทางโภชนาการของกระเพรา นิยมนำมาทำอาหาร เมนูผัดกระเพรากระเพรา สสมุนไพร ผักสวนครัว ประโยชน์ของกระเพรา

กระเพรา ( Sacred Basil ) ชื่อวิทยาศาสตร์ของกระเพรา คือ Ocimum sanctum, Linn. ผักสวนครัว สมุนไพร สรรพคุณของกระเพราแก้ท้องอืด แก้ท้องเฟ้อ ช่วยขับลม รักษาโรคผิวหนัง ไล่แมลง แก้ไอ ขับเสมหะ คุณค่าทางโภชนาการของกระเพรา กระเพรา ถือเป็นผักสวนครัวที่ได้รับความนิยมมาก เนื่องจากเป็นผักที่มีกลิ่นหอมหอม และให้รสเผ็ด จึงนิยมนำมาทำอาหาร เมนูผัดกระเพรา

คุณค่าทางโภชนาการของกระเพรา

นักโภชนาการ พบว่าในกระเพรา ประกอบไปด้วย คาร์โบไฮเดรต เส้นใยอาหาร เหล็ก โปรตีน เบต้าแคโรทีน แคลเซียม ฟอสฟอรัส วิตามินบี1 วิตามินเอ วิตามินบี 2  ในใบของกะเพรา จะมีน้ำมันหอมระเหย อยู่หลายชนิด เช่น  โอวิมอล (ocimol) เมทิลคาวิคอล (methylchavicol) แคลิโอฟิลลีน (caryophyllene) ไลนาลูออล(linalool) บอร์มีออล (bormeol) ยูจีนอล (eugenol)  และแคมฟีน (camphene)

กะเพรา ต้นกระเพรา กระเพรา วิกิพีเดีย กระเพรา ภาษาอังกฤษ กระเพราหมู ข้าวกระเพรา กระเพราะ กระเพราไก่ กระเพรา พจนานุกรม กระเพรา ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Ocimum sanctum, Linn. ชื่ออื่นๆ ของกระเพรา เช่น กระเพราแดง กระเพราขาว ก่ำก้อขาว ก่ำก้อดำ กอมก้อขาว กอมก้อด ห่อตูปลา ห่อกวอซู

ลักษณะของต้นกระเพรา

กะเพรา เป็น พืชล้มลุก ความสูงประมาณ 1-2 ฟุต โคนของลำต้น จะมีเนื้อไม้แข็ง มีขน มีกลิ่นหอม ใบของกระเพรามีสีเขียว มีขน ใบมีกลิ่นหอม กิ่งก้านเป็นรูปสี่เหลี่ยม ส่วนปลายของกิ่งจะอ่อน ดอกออกเป็นช่อ เมล็ดของกระเพรา เมื่อแก่เมล็ดจะเป็นสีดำ การขยายพันธุ์ของกระเพรา ใช้เมล็ด หรือลำต้น

  • ต้นกระเพรา เป็นไม้ล้มลุก แตกกิ่งก้านสาขา สูง 30 – 60 ซม. โคนลำต้นค่อนข้างแข็ง ตามลำต้นมีขน มีกลิ่นหอม
  • ใบกระเพรา เป็นใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม รูปรี กว้าง 1-3 ซม. ยาว 2.5-5 ซม. ปลายแหลมหรือมน โคนแหลม ขอบจักฟันเลื่อยและเป็นคลื่น แผ่นใบมีขนโดยเฉพาะยอด ใบสีเขียว เรียกกะเพราขาว ใบสีแดงเรียกกะเพราแดง
  • ดอกกระเพรา เป็นแบบช่อฉัตร ออกบริเวณปลายยอดและปลายกิ่ง ยาว 8-10 ซม. ประกอบด้วยดอกเล็กๆ ออกเป็นวงรอบแกนช่อเป็นชั้นๆ ก้านดอกยาว 2-3 มม. และกางออกตั้งฉากกับแกนช่อ กลีบเลี้ยงโคนติดกันเป็นรูปคล้ายระฆัง ปลายแยกเป็น ส่วน ส่วนบนมีกลีบเดียวค่อนข้างกลม ส่วนกลางแยกเป็น แฉก ปลายแหลมเรียว ด้านในเกลี้ยง ด้านนอกมีขนตามโคนกลีบ กลีบดอกสีขาว (กะเพราขาว) หรือชมพูปนม่วงแดง (กะเพราแดง) ด้านบนมี กลีบ ด้านล่างมี กลีบ ขนาดยาวกว่าด้านบน ตรงกลางกลีบเว้าตื้นๆ ปลายกลีบม้วนพับลง
  • ผลกระเพรา แห้งแล้วแตกออก
  • เมล็ดกระเพรา  รูปไข่สีน้ำตาลมีขนาดเล็ก  มีจุดสีเข้มเมื่อนำไปแช่น้ำเปลือกหุ้มเมล็ดพองออกเป็นเมือกเมื่อแก่หรือแห้ง เมล็ดจะเป็นสีดำอยู่ข้างในซึ่งหุ้มด้วยกลีบเลี้ยง 

สรรพคุณของกระเพรา

สำหรับการใช้ประโยชน์จากกระเพรา ด้านการบำรุงร่างกายและการรักษาโรค สามารถนำมาใช้ ทั้งส่วน ใบ เมล็ด และราก รายละเอียด ของสรรพคุณของกระเพรา มีดังนี้

  • ใบสดของกระเพรา จะมีน้ำมันหอมระเหย ประกอบไปด้วย ไลนาลูออล(linalool) และ เมทิลคาวิคอล (methylchavicol) สามารถนำมาใช้เป็นยาขับลม แก้ท้องอืด แก้ท้องเฟ้อ แก้ปวดท้อง บำรุงธาตุ
  • ใบแห้งของกระเพรา นำมาบดใช้ชงดื่มเป็นชา สามารถช่วยยับยั้งการเจริญเติมโตของเชื้อโรคบางชนิด ช่วยฆ่าเชื้อจุลินทรีย์บางชนิด
  • เมล็ดของกระเพรา นำเมล็ดไปแช่น้ำ เมล็ดจะพองเป็นเมือกสีขาว นำไปพอกในบริเวณตา จะไม่ทำให้ตาเราช้ำ
  • รากของกระเพรา ใช้รากแห้ง นำมาชงหรือต้มดื่ม แก้โรคธาตุพิการ

Last Updated on March 17, 2021