ปัญหาเรื่องลูก อ่านหนังสือไม่ออก เขียนไม่ได้ ต้องทำอย่างไร

ทักษะการอ่าน เป็นสิ่งสำคัญสำหรับลูกน้อย เทคนิคในการแก้ไขปัญหา เรื่อง ลูกอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ มีเทคนิคง่ายๆ ช่วยให้ปัญหานี้หมดไป ด้วยการใส่ใจในลูกให้มากขึ้น

การเลี้ยงลูก ปัญหาการอ่อนหนังสือ ลูก่อานหนังสือไม่ออก

ถ้าได้ส่งเสริมลูกให้มี นิสัยรักการอ่าน ตั้งแต่ยังเล็ก ประเด็น ปัญหาการอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ของลูก …คงไม่ใช่ ปัญหาใหญ่ อีกต่อไป….แม้จะมีข่าวด้าน การศึกษาของเด็ก ไทยตกต่ำ หรือเด็ก อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ มีจำนวนมากขึ้นในปัจจุบันก็ตาม ปัญหาเหล่านี้พ่อแม่ คงกังวลไม่น้อยถ้าลูกมีปัญหาดังกล่าว

 

อ่านไม่ออกเขียน  เขียนไม่ได้แก้ไขอย่างไร

เมื่อการอ่าน ถือเป็นจุดเริ่มต้นขอ งการส่งเสริม ลูกให้มี ทักษะรอบด้าน ทั้งการสังเกต  การเรียนรู้  การลำดับความ  สู่การประมวลความคิดรวบยอดจึงจะเรียกว่าเป็นการอ่านที่สมบูรณ์  การเกิดการเรียนรู้การอ่านในแต่ละครั้งจะต้องมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น 3 ประการกับลูก คือ

  1. การเปลี่ยนแปลงทางด้านความรู้ ความคิด ความเข้าใจ ( cognitive domain ) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในสมอง เช่น ความคิดรวบยอด
  2. การเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์หรือความรู้สึก ( affective domain ) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจ เช่น ความเชื่อเจตคติ ค่านิยม
  3. การเปลี่ยนทางการเคลื่อนไหวของร่างกาย ( psychomotor domain ) เพื่อให้เกิดทักษะ และ ความชำนาญ เช่น การว่ายน้ำ เล่นกีฬา

วิธีสร้างสรรค์ง่ายๆ ในการสร้างนิสัยรักการอ่านของลูก

  • สร้างเรื่องอ่าน ….. เป็นการเล่น ควรมองการเล่นของลูก เป็น หนังสือ ประเภทต่าง ๆ เพื่อดึงดูดความสนใจ เช่น หนังสือมีเสียง  มีรูปภาพ  รูปทรงและพื้นผิวน่าสัมผัส  สีสันสดใส  แล้วหยิบยื่นให้ลูกสู่การสัมผัสคล้ายการเล่นของเล่นตามปกติ  วิธีนี้สามารถช่วยกระตุ้นความอยากรู้อยากเห็น และลูกก็จะหยิบ อ่านหนังสือ แทนของเล่นนั่นเอง
  • สร้างสิ่งแวดล้อม …. เสริมการอ่าน การสร้างสิ่งแวดล้อม ใน การอ่าน ถือเป็นสิ่งสำคัญ ที่ พ่อแม่ ควรจัดสิ่งแวดล้อมรอบตัวลูกให้มี หนังสือ เพื่อกระตุ้น การพบเห็น สร้างความคุ้นเคย และทำความรู้จักกับหนังสือต่างๆ มากขึ้น เช่น เวลานั่งเล่น พ่อแม่ อาจหาหนังสือที่หลากหลาย เน้นสีสันวางไว้รอบๆ ตัวลูก เพื่อให้ลูกรู้จักการหยิบจับสู่การสำรวจ และนำสู่การอ่าน
  • สร้างบรรยากาศจูงใจ … ให้อยากอ่าน บรรยากาศอาจมองเป็น เรื่องทางอามรณ์ และ ความรู้สึกของลูก  แต่ การสร้างบรรยากาศ เป็น จิตวิทยาทางด้านจิตใจ อย่างหนึ่งที่ไม่ควรมองข้าม  พ่อแม่ ควรจัด มุมอ่านหนังสือ ของลูกภายในบ้าน  สร้างความเป็นกันเองใน การอ่านหนังสือ ร่วมกัน  บรรยากาศจึงมีความสัมพันธ์ในการ สร้างแรงจูงใจในการอ่าน ของลูก
  • สร้างน้ำเสียงน่าฟัง … สร้างนักอ่าน อาจมีหลายครั้งที่ลูก สนใจการอ่านหนังสือ แต่ลูกกลับ ไม่ยอมอ่านหนังสือ เอง  พ่อแม่ จึงควรอ่านเป็นแนวทางให้ลูก ด้วยการใช้น้ำเสียงให้น่าฟัง และมีความแตกต่างจากอ่านแบบธรรมดา สู่ การอ่าน แบบเล่าเรื่องคล้ายนิทาน การส่งเสริมการอ่าน ลักษณะนี้ลูกจะชอบมาก  เพราะ ลูกมักจะสร้างจินตภาพจาก การอ่าน และ การฟัง สู่การประมวลผลการรับรู้นั่นเอง

ทักษะการอ่าน เป็นสิ่งสำคัญสำหรับลูกน้อย เทคนิคในการแก้ไขปัญหา เรื่อง ลูกอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ มีเทคนิคง่ายๆ ช่วยให้ปัญหานี้หมดไป การเลี้ยงลูก ไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป

“สร้างนิสัย รักการอ่าน สำหรับลูกน้อย….สู่ การเรียนรู้ การอ่าน อย่างสร้างสรรค์”

โรคน่ารู้
ปัจจัยของการเกิดโรคต่างๆนั้น บางปัจจัยสามารถมองเห็นได้ แต่บางปัจจัยก็ไม่สามารถมองเห็นได้ ซึ่งปัจจัยการเกิดโรคมาจาก 3 ส่วน คือ มนุษย์ สิ่งแวดล้อม และ เชื้อโรคต่างๆที่ทำให้ร่างกายของมนุษย์และสิ่งมีชีวิตผิดปรกติ
ไวรัสโคโลน่า โรคปอดอักเสบ โรคทางเดินหายใจ โรคติดเชื้อ
โรคไวรัสโคโลน่า
โรคเอดส์ ติดเชื้อไวรัสเอชไอวี โรคติดต่อ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โรคเอดส์
โรคกระดูกพรุน โรคข้อและกระดูก โรคไม่ติดต่อ โรคผู้สูงอายุ
 โรคกระดูกพรุน
ข้ออักเสบรูมาตอยด์ ข้ออักเสบ โรคไม่ติดต่อ โรคกระดูก
 โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์
โรคเก๊าท์ อาการโรคเก๊าท์ โรคข้อกระดูก รักษาเก๊าท์
 โรคเก๊าท์
ข้อเสื่อม โรต โรคข้อกระดูก
โรคข้อเสื่อม