โรคหูด HPV เกิดจากการติดเชื้อไวรัส Human papilloma viruses ทำให้เกิดหูดขึ้นที่มือ เท้า คอ และอวัยวะเพศ ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ทำให้เกิดมะเร็งได้ ไม่มียารักษาโรคหูด HPV โรคติดต่อ โรคติดเชื้อ

เชื้อไวรัส  Human papillomaviruses (HPVs) ติดต่อได้อย่างไร

การติดเชื้อ HPV เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ไม่ว่าทางช่องคลอดหรือทางทวารหนัก หรือติดต่อทางผิวหนัง การติดต่อจากแม่ไปลูก หรือติดต่อจากปากสู่อวัยวะเพศ เชื้อ HPV หรือชื่อเต็มว่า Human Papillomavirus เป็นไวรัสชนิดหนึ่ง ซึ่งมากกว่า 100 สายพันธุ์ ทำให้เกิดหูดตามอวัยวะต่างๆ โดยสามารถติดต่อได้ทางพันธุกรรม และ ทางเพศสัมพันธ์ทั้งชายและหญิง

นอกจากนั้นยังสามารถติดต่อกันทางการร่วมเพศทางปาก คอหอย และ ทวารหนักได้ตามลักษณะการมีกิจกรรมทางเพศ แม้กระทั่งในเด็กแรกเกิดก็สามารถติดเชื้อนี้ได้ หากขณะที่คลอดนั้น เด็กได้คลอดผ่านช่องคลอดของคุณแม่ที่มีเชื้อนี้อยู่ ทำให้เด็กมีความเสี่ยงที่จะติดเชื้อ HPV ที่กล่องเสียงได้ ปัจจุบันพบเชื้อนี้บ่อยที่สุดในช่องคลอดสตรี และปากมดลูกมากกว่าบริเวณอื่น ซึ่งผู้ที่ติดเชื้อจะไม่มีอาการ หากไม่รับการตรวจ ก็จะเป็นภัยเงียบที่เราไม่รู้ตัว จนเมื่อได้พัฒนาไปเป็นมะเร็งไปแล้วจึงจะออกอาการ

ในปัจจุบันยังไม่สามารถรักษาการติดเชื้อ HPV ให้หายขาดได้ ผู้ป่วยต้องรักษาสุขภาพให้แข็งแรง เพื่อให้ร่างกายมีภูมิต้านทาน เชื้อจะหายไปเอง เกือบ 90 % ภายใน 2 ปี แต่อีก 5 – 10% ของโรคร่างกายไม่สามารถกำจัดเชื้อไวรัสเอชพีวีนี้ได้ ผู้ป่วยยังคงติดเชื้ออยู่ต่อเนื่อง ซึ่งจะสามารถพัฒนาไปเป็นเซลล์มะเร็งได้ ในระยะเวลา 10 -15 ปี ผู้ที่ติดเชื้อจึงต้องเข้ารับการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกอย่างสม่ำเสมอเป็นประจำทุกปี

ปัจจัยเสี่ยงของการติดเชื้อไวรัส HPV

สำหรับกลุ่มคนที่มีความเสี่ยงตอการเกิดโรคติดเชื้อไวรัส HPV นั้น พบว่ากลุ่มคนที่มีลักษณะและพฤติกรรมต่างๆ เหล่านี้ มีความเสี่ยงของการเกิดดรคสูงที่สุด คือ

  1. คนที่สูบบุหรี่
  2. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์
  3. คนที่ขาดสารอาหารและขาดวิตามินบี 9
  4. กลุ่มคนที่มีโรคการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
  5. กลุ่มคนที่ร่างกายไม่แข็งแรง คนที่มีภูมิคุ้มกันต้านทานโรคต่ำ
  6. กลุ่มคนใช้ยาคุมกำเนิด นานกว่า 5 ปี

การรักษาโรคการติดเชื้อไวรัส HPV

การติดเชื้อไวรัส Human papillomaviruses (HPVs) รักษาอย่างไร ประมาณ 7 ใน 10 ของผู้ป่วย ภูมิคุ้มกันเชื้อโรคของร่างกายจะกำจักเชื้อโรคออกได้เองภายใน 365 วัน แต่ 9 ใน 10 คนของผู้ที่มีภูมิคุ้มกันโรค สามารถกำจัดได้หมดภายใน 2 ปี  ในปัจจุบันยังไม่มียาที่สามารถกำจัดเชื้อโรค Human papillomaviruses (HPVs) แต่สามารถกำจัดหูดออกได้

การป้องกันการติดเชื้อ Human papillomaviruses ( HPVs )

โรคนี้สามารถป้องกันการเกิดโรคได้โดย การฉีดวัคซีนป้องกันการติดเชื้อ Human papillomaviruses ( HPVs ) นอกจากนั้นต้องป้องกันด้วยการปรับพฤติกรรมในการดำรงชีวิต เช่น การมีเพศสัมพันธ์อย่างปลอดภัย สวมถุงยางอนามัยทุกครั้ง โดยสามารถสรุป ได้ดังนี้

  1. รักษาและดูแลสุขภาพร่างกายให้แข็งแรง
  2. รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ โดยให้รับประทานอาหารให้ครบทั้ง 5 หมู่
  3. ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
  4. ป้องกันขณะมีเพศสัมพันธ์ทุกครั้ง โดยใช้ถุงยางอนามัยสำหรับเพศชาย
  5. เข้ารับการฉีดวัคซีนป้องกันการติดเชื้อ HPV เพื่อลดโอกาสการเกิดมะเร็งปากมดลูก

สำหรับ โรคการติดเชื้อไวรัส HPV นั้น ร้อยละ 95 เกิดขึ้นเองจากการกำจัดเชื้อไวรัส HPV จากภูมิต้านทานที่ร่างกายสร้างขึ้น ซึ่งการติดเชื้อไวรัส HPV นั้น ไม่ได้ทำให้เกิดมะเร็งปากมดลูกเสมอไป เนื่องจาก เมื่อวินิจฉัยโรคด้วยการส่องกล้องขยายทางช่องคลอด จะพบว่า ความผิดปกติของปากมดลูกมีน้อยมาก แปลว่า ผู้ติดเชื้อไวรัส HPV อาจไม่เสี่ยงโรคมะเร็งปากมดลูก ทุกคนนั่นเอง

เชื่อ HPV เป็นเชื่อที่สามารถติดต่อได้จากการสัมผัส และการมีเพศสัมพันธ์ ดังนั้น เราขอแนะนำ สมุนไพรช่วยเพิ่มสมรรถนะทางเพศ มีดังนี้

ผักบุ้ง สมุนไพร ผักสวนครัว สรรพคุณของผักบุ้งผักบุ้ง
โด่ไม่รู้ล้ม สมุนไพร เพิ่มสมรรถภาพทางเพศ ประฌยชน์ของโด่ไม่รู้ล้ม
โด่ไม่รู้ล้ม
กระเทียม สมุนไพร สมุนไพรไทย เครื่องเทศ
กระเทียม
กระชาย สมุนไพร สมุนไพรไทย ต้นกระชาย
กระชาย
กระเฉด สมุนไพร สมุนไพรไทย ผักสวนครัว

ผักกระเฉด

ว่านมหาหงส์ สมุนไพร สรรพคุณของว่านมหาหงส์ ประโยชน์ของว่านมหาหงส์ว่านมหาหงส์

โรคหูด ( HPVs ) เกิดจากการติดเชื้อไวรัส Human papilloma viruses เกิดหูดขึ้นที่ มือ เท้า คอ และอวัยวะเพศ เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ทำให้เกิดมะเร็งได้ การติดเชื้อไวรัส HPV ยังไม่มียารักษา

ปวดปลายประสาทหลังจากโรคงูสวัส ( Postherpetic Neuralgia ) เป็นอาการป่วยที่เกิดหลังจากป่วยโรคงูสวัส อาการมีผื่นขึ้นและปวดที่บริเวณผื่นนั้นๆ มีอาการชา และ ปวดมากโรคปวดปลายประสาท โรคงูสวัด โรคติดเชื้อ โรคระบบประสาท

โรคปวดปลายประสาทหลังจากเป็นโรคงูสวัส ภาษาอังกฤษ เรียก Postherpetic Neuralgia เป็นภาวะปวดที่ปลายประสาทโดยอาการจะปวดแสบ เหมือนของแหลมแทง ซึ่งผู้ป่วยจะมีอาการหลายเดือน จะเกิดกับผู้สูงอายุ ที่อายุ 50 ปีขึ้นไป ปัจจัยเสี่ยงที่มำให้เกิดโรคนี้ คือ อายุ การเกิดผื่นบริเวณใบหน้า การรักษาโรคงูสวัสช้าเกินไป  เป็นต้น โรค นี้ไม่มีอันตรายถึงชีวิต แต่ถ้าหากรักษาโดยวิธีที่ไม่ถูกต้อง เช่น การใช้สมุนไพรประคบแผล การอาบน้ำมนต์ อาจทำให้ติดเชื้อมากขึ้น ทำให้เกิด ภาวะติดเชื้อในกระแสเลือด ได้ อันนี้แหละที่เป็นอันตรายถึงชีวิต

ปัจจัยเสี่ยงของการเกิดโรค

สาเหตุของโรคปวดปลายประสาท หลังจากเป็นโรคงูสวัส พบว่า มีปัจจัยของการเกิดโรค ดังนี้

  1. ผู้สูงอายุของผู้ป่วย ยิ่งอายุมาก และเคยเป็นงูสวัด มาก่อน มีโอกาสเกิดอาการปวดปลายประสาท
  2. ตำแหน่งดรคงูสวัด หากเกิดที่ตาและหน้าอก มีโอกาสสูงที่จะเกิดปวดปลาประสาท
  3. มีประวัติการรักษาโรคงูสวัดล่าช้า มีโอกาสที่จะเกิด อาการปวดปลายประสาท
  4. เพศ พบว่าเพศหญิงมีโอกาสเกิดอาการปวดปลายประสาทจากโรคงูสวัดสูงกว่าเพศชาย

สาเหตุของการปวดปลายประสาทหลังจากเกิดโรคงูสวัส

สำหรับสาเหตุของการเกิดโรคนั้น ยังไม่สาเหตุที่ชัดเจน แต่สามารถสันนิฐาน ว่าเชื้อไวรัสเข้าไปทำลายเส้นประสาท ทำให้การทำงานของเส้นประสาท ไขสันหลัง และสมองไม่สัมพันธ์กัน กระทบกับการตอบสนองของระบบประสาทส่วนกลาง

อาการของผู้ป่วยปวดปลายประสาทหลังจากเป็นโรคงูสวัส

อาการของผู้ป่วย โรคปวดปลายประสาทหลังจากโรคงูประสาท คือ จะมีผื่นและปวดที่บริเวณผื่นนั้นๆ มีอาการเหมือนมีของแหลมๆ ทุ่มแทง บางคนจะมีอาการชา และปวดมาก ถึงแม้ว่าจะสัมผัสเบาๆ  ซึ่ง อาการปวดนี้ เกิดจากเส้นประสาทผิดปกติ อาจเกิดจากกลไกเส้นประสาท รากประสาท หรือจากสมองส่วนกลาง ที่ตอบสนองเร็วผิดปรกติ โดยอาการปวดสามารถแบ่งได้ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ ในกลุ่มของอาการปวดในขณะที่ยังมีแผลงูสวัสอยู่ และปวดในขณะที่แผลงูสวัสหายไปแล้ว  รายละเอียดดังนี้

  1. อาการปวด ที่เกิดขึ้นในขณะที่ยังมีแผลงูสวัดอยู่ เราเรียกว่า Herpetic neuralgia โดยอาการปวดจะมีตุ่มน้ำใส
  2. อาการปวดในขณะที่แผลงูสวดหายดีแล้ว พบว่ามีอาการปวดบริเวณที่เคยเป็นแผลงูสวัด โดยมีอาการปวดเหมือนการเป็นโรคงูสวัด เราเรียกว่า Post-herpetic neuralgia

การรักษาโรดปวดปลายประสาทหลัง จากเป็นโรคงูสวัส

สพหรับการรักษา โรดปวดปลายประสาทหลัง สามารถทำได้โดย การให้ยาแก้ปวด ให้ยาชา และให้ยาต้านไวรัสไปรักษาอาการปวดเส้นประสาท ด้วย

  1. ให้ยาต้านไวรัส ที่มีชื่อว่าอะไซ โคลเวียร์ (Acyclovir) อาการตุ่มน้ำใส และอาการปวด ก็หายได้เร็วขึ้น
  2. ให้ยารักษางูสวัด โดยแนะนำว่าไม่ควรนำสมุนไพรมาปิดแผล เนื่องจากอาจทำให้เกิดการติดเชื้อ ซึ่งเป็นสาเหตุของโรคงูสวัส
  3. ให้ยารักษาอาการปวด เป็นยาแก้ปวดทั่วไป เช่น คาร์บามาซีปีน(Carbamazepine) อะมีทิพทีลีน (Amitriptyline) กาบาเพ็นติน (Gabapentin) ทรามอล(Tramal) เป็นต้น

การป้องกันการปวดหลังจากเป็นโรคงูสวัส

สามารถทำด้โดย การฉีดวัคซีนป้องกัน โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีโอกาสเกิดอาการงูสวัดได้สูง เช่น ผู้สูงอายุ คนที่มีภูมิต้านทานโรคต่ำ ผู้ป่วยโรคมะเร็งที่เข้ารับการทำเคมีบำบัด เป็นต้น แต่ในส่วนการป้องกันการปวด เส้นประสาทนั้น ต้องให้ยาต้านไวรัสAcyclovir วิธีนี้จะสามารถช่วยลดการเกิดโรคปวดปลายประสาทหลังจากเกิดโรคงูสวัดได้

สมุนไพรแก้ปวด

ซึ่งสมุนไพรแก้ปวดสามารถช่วยลดอาการปวดแผลจากผื่นคันตามแนวเส้นประสาท ได้ สมุนไพรที่ช่วยลดอาการปวด มีดังนี้

หอมหัวใหญ่ สมุนไพร สมุนไพรไทย พืชสมุนไพร
หอมหัวใหญ่
สะระแหน่ มินต์ สมุนไพร พืชสวนครัว
สะระแหน่
ฟักข้าว สมุนไพร สรรพคุณของฟักข้าว ประโยชน์ของฟักข้าวฟักข้าว
แคนา ต้นแคนา สมุนไพร ประโยชน์ของแคนา
แคนา
กระเทียม สมุนไพร สมุนไพรไทย เครื่องเทศ
กระเทียม
หญ้าคา สมุนไพร สมุนไพรไทย
หญ้าคา

โรคปวดปลายประสาทหลัง จาก โรคงูสวัส ( Postherpetic Neuralgia ) เกิดขึ้นหลังจากการเกิดโรคงูสวัส โดยอาการของโรค คือ มีผื่นและปวดที่บริเวณผื่นนั้นๆ มีอาการเหมือนมีของแหลมๆ ทุ่มแทง บางคนจะมีอาการชา และ ปวดมาก ถึงแม้ว่าจะสัมผัสเบาๆ  โรคนี้เกิดกับคนอายุ 50 ปี ขึ้นไป โรคเกี่ยวกับระบบประสาท สาเหตุของโรค อาการ การรักษาโรค


ขายถุงกระสอบ ถุงสายรุ้ง ย้ายหอ ย้ายบ้าน ต้องการถุงกระสอบ ถุงกระสอบราคาโรงงาน
ติดต่อ ทรัพย์ทวี Line Id : nongnlove