ผักบุ้ง ผักสวนครัว นิยมนำมาทำอาหาร ผักบุ้งนา ผักบุ้งจีน ผักบุ้งในประเทศไทยเป็นพืชเศรษฐกิจ สรรพคุณบำรุงสายตา บำรุงโลหิต ช่วยบำรุงประสาท ช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด

ผักบุ้ง ต้นผักบุ้ง สมุนไพร สรรพคุณของผักบุ้ง

ผักบุ้ง ( Swamp Morning Glory ) ผักสวนครัว ชื่อวิทยาศาสตร์ของผักบุ้ง คือ Ipomoea aquatica Forssk ผักบุ้งในประเทศไทย ผักบุ้งไทย ผักบุ้งนา ผักบุ้งจีน สรรพคุณของผักบุ้ง บำรุงสายตา ช่วยในการชะลอวัยความแก่ชรา ป้องกันมะเร็ง ช่วยบำรุงสายตา ช่วยบำรุงธาตุ แก้ร้อนใน บำรุงโลหิต ช่วยบำรุงระบบโรคประสาท ช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด

ต้นผักบุ้ง มีมากมายหลายพันธุ์ แต่ผักบุ้งที่คนไทยนิยมนำมารับประทาน มี 3 สายพันธุ์  คือ ผักบุ้งไทย ผักบุ้งจีน และ ผักบุ้งนา โดยรายละเอียด มีดังนี้

  • ผักบุ้งไทย เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า ผักบุ้งน้ำ มักขึ้นตามผิวน้ำ สามารถนำมารับประทานแบบสด ๆ หรือนำไปปรุงอาหารไทยได้หลากหลาย เช่น แกงส้ม แกงเทโพ ผัดพริกแกง หรือนำไปใส่ในก๋วยเตี๋ยวเย็นตาโฟ เป็นต้น
  • ผักบุ้งจีน ผักบุ้งชนิดนี้ จะขึ้นอยู่บนบก และมีใบกับลำต้นเป็นสีเขียวอ่อน ยางน้อยกว่าผักบุ้งไทย สามารถนำมาทำอาหารได้หลากหลาย ทั้งผัดไฟแดง ลวกรับประทานกับน้ำพริก ใส่ในหม้อสุกี้ เป็นต้น
  • ผักบุ้งนา เป็นผักบุ้งที่เกิดและเติบโตขึ้นตามธรรมชาติ มีรสฝาด นิยมรับประทานสด ๆ เป็นผักเคียงอาหาร อาทิ อาหารอีสาน เป็นต้น

คุณค่าทางโภชนาการของผักบุ้ง

นักวิชาการได้ศึกษาคุณค่าทางโภชนาการของผักบุ้ง ขนาด 100 กรัม พบว่า ให้พลังงาน 19 กิโลแคลอรี มีสารอาหารสำคัญ ประกอบด้วย คาร์โบไฮเดรต 3.14 กรัม กากใยอาหาร 2.1 กรัม ไขมัน 0.2 กรัม โปรตีน 2.6 กรัม วิตามินเอ 315 ไมโครกรัม วิตามินบี 1 0.03 มิลลิกรัม วิตามินบี 2 0.1 มิลลิกรัม วิตามินบี 3 0.9 มิลลิกรัม วิตามินบี 5 0.141 มิลลิกรัม วิตามินบี 6 0.096 มิลลิกรัม วิตามินบี 9 57 ไมโครกรัม วิตามินซี 55 มิลลิกรัม ธาตุแคลเซียม 77 มิลลิกรัม ธาตุเหล็ก 1.67 มิลลิกรัม ธาตุแมกนีเซียม 71 มิลลิกรัม ธาตุแมงกานีส 0.16 มิลลิกรัม ธาตุฟอสฟอรัส 39 มิลลิกรัม ธาตุโพแทสเซียม 312 มิลลิกรัม ธาตุโซเดียม 113 มิลลิกรัม และธาตุสังกะสี 0.18 มิลลิกรัม

สรรพคุณของผักบุ้ง

สรรพคุณของผักบุ้ง ประกอบด้วย ช่วยบำรุงผิว มีสารต้านอนุมูลอิสระ ช่วยในการชะลอวัยความแก่ชรา ป้องกันมะเร็ง ช่วยบำรุงสายตา ช่วยบำรุงธาตุ แก้ร้อนใน บำรุงโลหิต ช่วยบำรุงระบบโรคประสาท ช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด ป้องกันโรคเบาหวาน ช่วยลดการปวดศีรษะ ช่วยบำรุงกระดูกและฟัน ใช้ช่วยรักษาแผลในปาก ช่วยป้องกันโรคกระเพาะ ป้องกันโรคท้องผูก ช่วยแก้อาการเสื่อมสมรรถภาพ ช่วยขับปัสสาวะ ช่วยแก้หนองใน ช่วยแก้ริดสีดวงทวาร ช่วยให้เจริญอาหาร เป็นยาแก้กลากเกลื้อน ใช้ถอนพิษจากแมลงสัตว์กัดต่อย ใช้รักษาแผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก ช่วยขับสารพิษออกจากร่างกาย

  • ช่วยให้ผิวพรรณเปล่งปลั่งสดใส มีน้ำมีนวล
  • มีสารต่อต้านอนุมูลอิสระ ช่วยในการชะลอวัย
  • ช่วยป้องกันการเกิดโรคมะเร็ง
  • ช่วยบำรุงสายตา
  • ช่วยบำรุงธาตุ
  • ช่วยในการบำรุงโลหิต
  • ช่วยแก้โรคประสาท
  • ช่วยแก้อาการเหงื่อออกมาก
  • ช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด ป้องกันการเกิดโรคเบาหวาน
  • ช่วยแก้อาการปวดศีรษะ อ่อนเพลีย
  • ช่วยบำรุงกระดูกและฟัน
  • ช่วยแก้อาการเหงือกบวม
  • ช่วยรักษาแผลร้อนในในปาก
  • แก้เลือดกำเดาไหลออกมากผิดปกติ
  • ช่วยป้องกันโรคกระเพาะอาหาร
  • ช่วยป้องกันโรคท้องผูก
  • ช่วยแก้อาการเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ
  • ช่วยทำความสะอาดของเสียที่ตกค้างในลำไส้
  • ช่วยในการขับปัสสาวะ
  • ช่วยแก้หนองใน
  • ช่วยแก้ริดสีดวงทวาร
  • ช่วยแก้อาการตกขาวของสตรี
  • ช่วยถอนพิษเบื่อเมา
  • ช่วยให้เจริญอาหาร
  • ช่วยต่อต้านเชื้อแบคทีเรีย
  • ป็นยาแก้กลากเกลื้อน

ปัจจุบันนี้กระแสการรักสุขภาพและการดูแลรักษาสุขภาพให้สมบูรณ์แข็งแรงนั้นนับได้ว่าเป็นกระแสที่มาแรงโดยคนส่วนใหญ่นั้นจะเลือกรับประทานอาหารที่เป็นอาหารเพื่อสุขภาพโดยจะทำมาจากผักและผลไม้ต่างๆนั่นเอง ซึ่งผักบุ้งก็เป็นผักอีกชนิดหนึ่งที่มีการนำมาใช้ปรุงอาหารกันอย่างแพร่หลายโดยผักบุ้งนั้นนอกจากจะเป็นผักที่ขึ้นอยู่ริมรั้วทั่วไป เหมือนจะหาประโยชน์จากผักบุ้งไม่ได้นั้นเลยแต่ทว่าผักบุ้งนั้นเป็นทั้งผักที่ขึ้นอยู่ริมรั้วทั่วไปอีกทั้งยังเป็นสมุนไพรใกล้ตัวที่ขึ้นอยู่ริมรั้วโดยวันนี้เราจะมาทำรู้จักกับผักบุ้งให้มากยิ่งขึ้นซึ่งผักบุ้งนั้นนับได้ว่าเป็นสมุนไพรริมรั้วที่มีความใกล้ชิดกับคนไทยมานานแสนนานนั่นเอง

ผักบุ้ง นั้นมีชื่อเรียกอื่นว่า ผักทอดยอด โดยผักบุ้งเป็นอาหารเพื่อสุขภาพที่เรามักคุ้นเคยกันว่าสามารถช่วยในการบำรุงสายตาแต่จริงๆแล้ว ผักบุ้ง เป็นผักที่มีคุณประโยชน์อีกทั้งยังเป็นผักที่อุดมไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุต่างๆที่สำคัญในการเสริมสร้างสุขภาพร่างกายให้สมบูรณ์แข็งแรงนั่นเองซึ่งใน ผักบุ้ง 100 กรัม นั้นจะให้พลังงานมากถึง 22 กิโลแคลลอรี่ โดยจะประกอบไปด้วย เส้นใยไฟเบอร์ และ วิตามินแร่ธาตุต่างๆ เช่น วิตามินเอ วิตามินซี วิตามินบีต่างๆ อีกทั้งยังรวมไปถึงแร่ธาตุเช่น แคลเซียม ฟอสฟอรัส และธาตุเหล็กเป็นต้น

ใน ผักบุ้ง นั้นประกอบไปด้วย วิตามินและแร่ธาตุ ต่างๆมากมาย ซึ่งแร่ธาตุและวิตามินเหล่านั้นนับได้ว่าเป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่ทรงประสิทธิภาพช่วยในการชะลอความเสื่อมชราของเซลล์อีกทั้งยังช่วยชะลอการเกิดริ้วรอยก่อนวัยรวมถึงช่วยชะลอความแก่ได้เป็นอย่างดีนั่นเอง

นอกจากนี้แล้ว คุณประโยชน์ของผักบุ้ง ที่สำคัญที่สุด คือ ช่วยในการบำรุงผิวพรรณ ช่วยให้ผิวพรรณเปล่งปลั่งสดใส มีน้ำมีนวลนั่นเอง อีกทั้งยัง ช่วยป้องกันและช่วยลดอัตราการเกิดมะเร็ง ได้เป็นอย่างดีอีกด้วยและ คุณประโยชน์ ที่สำคัญที่เรารู้จักกันมาตั้งแต่เด็กเด็กก็ คือ ผักบุ้ง นั้นสามารถ ช่วยในการบำรุงสายตา ช่วยรักษาอาการต้อ อาการตาแดง และ ช่วยบำรุงสายตา ได้เป็นอย่างดี ในทางการแพทย์แผนไทยเชื่อกันว่า ผักบุ้ง เป็นผักธาตุเย็น โดยผักบุ้งสามารถช่วยในการแก้ร้อนใน และ ช่วยดับร้อน ได้เป็นอย่างดีอีกทั้ง ยอดผักบุ้ง ยัง ช่วยแก้อาการโรคประสาท แก้อาการเหงื่อออกมากผิดปกติ อีกทั้งยัง ช่วยในการลดระดับความดัน และ ลดระดับน้ำตาลในเลือด ช่วยป้องกันโรคเบาหวาน ได้ดีอีกด้วย

นับได้ว่า ผักบุ้ง นั้นเป็นผักที่มีประโยชน์และช่วยในการบำรุงดูแลรักษาสุขภาพได้เป็นอย่างดี หากใครที่เป็นผู้ชื่นชอบในการดูแลรักษาสุขภาพ อีกทั้งยังชอบรับประทานอาหารที่มีประโยชน์นั้น นับได้ว่า ผักบุ้ง ก็เป็นผักอีกชนิดหนึ่งที่มีความสำคัญและควรที่จะมีการรับประทานเป็นประจำเพื่อเสริมสร้างสุขภาพร่างกายให้สมบูรณ์แข็งแรงนั่นเอง ซึ่ งผักบุ้ง นั้นถือได้ว่าเป็นผักทั่วไปสามารถซื้อหาได้ตามตลาดโดยมีราคาขายที่ไม่แพงจึงเหมาะสำหรับเป็นผักที่สามารถรับประทานได้เป็นประจำนั่นเอง

ผักบุ้ง ผักสวนครัว ผักบุ้งในประเทศไทย ผักบุ้งไทย ผักบุ้งนา ผักบุ้งจีน สรรพคุณของผักบุ้ง บำรุงสายตา ช่วยในการชะลอวัยความแก่ชรา ป้องกันมะเร็ง ช่วยบำรุงสายตา ช่วยบำรุงธาตุ แก้ร้อนใน บำรุงโลหิต ช่วยบำรุงระบบประสาท ช่วยลดระดับน้ำตาลในเลือด

งาดำ สมุนไพร เมล็ดงาดำนิยมนำมาบริโภค ลักษณะของต้นงาดำเป็นอย่างไร คุณค่าทางโภชนาการของงาดำ สรรพคุณช่วยชะลอวัย บำรุงผิวพรรณ บำรุงผม โทษของงาดำ มีอะไรบ้าง

งาดำ สมุนไพร สรรพคุณของงาดำ

งาดำ ( Sesamum ) ชื่อวิทยาศาสตร์ของงาดำ คือ Sesamum indicum L สมุนไพร คุุณค่าทางโภชนาการของงาดำ สรรพคุณของงาดำ ช่วยชะลอความแก่  ช่วยบำรุงผิว ช่วยชะลอการเกิดริ้วรอยแห่งวัย ช่วยซ่อมแซมผิวพรรณ ช่วยบำรุงรากผม ช่วยให้ผมดกเงางาม ช่วยป้องกันการเกิดผมหงอก ช่วยบำรุงกำลัง ช่วยสลายไขมัน ใช้ลดความอ้วน ช่วยลดการดูดซึมคอเลสเตอรอลในร่างกาย

นอกจากนั้น งาดำยังมีสรรพคุณ ช่วยป้องกันหลอดเลือดแข็งตัว ช่วยป้องกันโรคหัวใจ ช่วยป้องกันโรคมะเร็ง ช่วยบำรุงสมอง ช่วยบำรุงโลหิต ลดความดันโลหิต ช่วยขยายหลอดเลือด ช่วยกระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดขาว ช่วยให้นอนหลับสบาย  ป้องกันโรคหวัด ช่วยป้องกันโรคเหน็บชา ช่วยบำรุงกระดูก ช่วยป้องกันการเกิดโรคกระดูกพรุน ป้องกันโรคท้องผูก ช่วยบรรเทาโรคริดสีดวงทวาร ช่วยป้องกันโรคข้อเสื่อม เป็นยาระบายอ่อนๆ  งาดำสามารถช่วยบำรุงร่างกาย ได้มากมาย เช่น ผม ผิว กระดูก เล็บ การขับถ่าย ระบบเลือด บำรุงหัวใจ หรือผู้หญิงวัยทอง ซึ่งงาดำช่วยป้องกันโรคกระดูกพรุน ได้ดี

งาดำ ถือเป็นพืชชนิดพืชล้มลุก งาดำ มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า  Sesamum indicum L งาเป็นพืชท้องถิ่นของเอเชีย และแถบตะวันออกของทวีปแอฟริกา ในปัจจุบันสามารถพบงานได้ในประเทศเขตร้อน ต้นงา จะมีความสูงประมาณ 2 เมตร เมื่อผลของงาเแห้งจะมีเมล็ดเล็กๆสีดำ สามารถนำมารับประทานได้ งาถือว่าเป็นพืชที่มีประโยชน์มาก หากรับประทานอย่างต่อเนื่องจะทำให้ร่างกายแข็งแรง ในงาดำ จะมาสารอาหารมากมายประกอบด้วย วิตามินบี1 วิตามินบี2 วิตามินบี3 วิตามินบี5 วิตามินบี6 วิตามินบี9 ธาตุแคลเซียม ธาตุแมกนีเซียม ธาตุโพแทสเซียม ธาตุโซเดียม ธาตุฟอสฟอรัส ธาตุสังกะสี และธาตุเหล็ก

ลักษณะของต้นงาดำ

ต้นงาดำ เป็นพืชล้มลุก เป็นไม้เนื้ออ่อน มีขนาดเล็ก ลำต้นตั้งตรงถึงยอด ลำต้นเป็นสี่เหลี่ยมสีเขียวเข้มปนม่วง มีร่องตามยาวและมีขนปกคลุม อวบน้ำ สูงประมาณ 0.5-2 เมตร ใบมีลักษณะคล้ายกับใบหญ้างวงช้าง มีขนตลอดทั้งใบ เป็นใบเดียวรูปไข่ หรือรูปหอก ขอบใบเป็นจัก ใบมีสีเขียวอ่อนไปจนถึงเขียวเข้ม บางพันธุ์ใบอาจเป็นสีเหลือง ก้านใบยาว 5 เซนติเมตร ดอกเป็นดอกสมบูรณ์เพศ กลุ่มละ 1-3 ดอก ก้านดอกสั้น กลีบรองดอกมี 5 แฉก กลีบดอกมีสีขาว ขาวอมชมพู หรือม่วงอ่อน ผลหรือฝักขนาดค่อนข้างกลม รูปทรงกระบอกหรือแบน มีขนสั้น ๆ ปกคลุมรอบฝัก ปลายฝักมีจงอยแหลม เมล็ดมีรูปไข่ งาดำจะมีเมล็ดเป็นสีดำขนาดใหญ่กว่าเม็ดแมงลักเล็กน้อย ส่วนงาขาวจะมีสีนวล

คุณค่าทางโภชนาการของงาดำ

นักวิชาการได้ศึกษางาดำขนาด 100 กรัม พบว่า คุณค่าทางโภชนาการของงาดำต่อ 100 กรัม ให้พลังงาน 573 กิโลแคลอรี่ มีสารอาหารสำคัญ ประกอบด้วย คาร์โบไฮเดรต 23.45 กรัม กากใยอาหาร 11.8 กรัม โปรตีน 17.73 กรัม น้ำ 4.69 กรัม น้ำตาล 0.30 กรัมไขมันรวม 49.67 กรัม กรดไขมันไม่อิ่มตัวเชิงเดี่ยว 18.759 กรัม กรดไขมันไม่อิ่มตัวเชิงซ้อน 21.773 กรัม กรดไขมันอิ่มตัว 6.957 กรัม
กรดกลูตามิก 3.955 กรัม กรดแอสพาร์ติก 1.646 กรัม เมไธโอนีน 0.586 กรัม ทรีโอนีน 0.736 กรัม ซีสทีอีน 0.358 กรัม ซีรีน 0.967 กรัม ฟีนิลอะลานีน 0.940 กรัม อะลานีน 0.927 กรัม อาร์จินีน 2.630 กรัม โปรลีน 0.810 กรัม ไกลซีน 1.215 กรัม ฮิสทิดีน 0.522 กรัม ทริปโตเฟน 0.388 กรัม ไทโรซีน 0.743 กรัม วาลีน 0.990 กรัม ไอโซลิวซีน 0.763 กรัม ลิวซีน 1.358 กรัม ไลซีน 0.569 กรัม
ไฟโตสเตอรอล 714 มิลลิกรัม เบต้าแคโรทีน 5 ไมโครกรัม วิตามินเอ 9 มิลลิกรัม วิตามินอี 0.25 มิลลิกรัม วิตามินบี 1 0.791 มิลลิกรัม
วิตามินบี 2 0.247 มิลลิกรัม วิตามินบี 3 4.515 มิลลิกรัม วิตามินบี 5 0.050 มิลลิกรัม วิตามินบี 6 0.790 มิลลิกรัม วิตามินบี 9 97 ไมโครกรัม ธาตุแคลเซียม 975 มิลลิกรัม ธาตุเหล็ก 14.55 มิลลิกรัม ธาตุซีลีเนียม 5.7 ไมโครกรัม ธาตุโซเดียม 11 มิลลิกรัม
ธาตุฟอสฟอรัส 629 มิลลิกรัม ธาตุสังกะสี 7.75 มิลลิกรัม ธาตุโพแทสเซียม 468 มิลลิกรัม ธาตุแมกนีเซียม 351 มิลลิกรัม
ธาตุแมงกานีส 2.460 มิลลิกรัม และธาตุทองแดง 4.082 มิลลิกรัม

สรรพคุณของงาดำ

สำหรับ สรรพคุณทางยาของงาดำ ประกอบด้วย ช่วยชะลอความแก่  ช่วยบำรุงผิว ช่วยชะลอการเกิดริ้วรอยแห่งวัย ช่วยซ่อมแซมผิวพรรณ ช่วยบำรุงรากผม ช่วยให้ผมดกเงางาม ช่วยป้องกันการเกิดผมหงอก ช่วยบำรุงกำลัง ช่วยสลายไขมัน ใช้ลดความอ้วน ช่วยลดการดูดซึมคอเลสเตอรอลในร่างกาย ช่วยป้องกันหลอดเลือดแข็งตัว ช่วยป้องกันโรคหัวใจ ช่วยป้องกันโรคมะเร็ง ช่วยบำรุงสมอง ช่วยบำรุงโลหิต ลดความดันโลหิต ช่วยขยายหลอดเลือด ช่วยกระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดขาว ช่วยให้นอนหลับสบาย  ป้องกันโรคหวัด ช่วยป้องกันโรคเหน็บชา ช่วยบำรุงกระดูก ช่วยป้องกันการเกิดโรคกระดูกพรุน ป้องกันโรคท้องผูก ช่วยบรรเทาโรคริดสีดวงทวาร ช่วยป้องกันโรคข้อเสื่อม

ข้อควรระวังในการบริโภคงาดำ

  1. สำหรับคนที่ลดน้ำหนักโดยการกินงาดำ เนื่องจากงาดำมีน้ำหนักเบา ซึ่งทำให้น้ำหนักตัวลดมาก อาจไม่ดีต่อสุขภาพ
  2. การบริโภคเมล็ดงาดำ มากเกินไปทำให้ลำไส้ใหญ่ถูกทำลายได้ และเป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่ได้
  3. เมล็ดงา ทำให้ลำไส้ใหญ่อักเสบได้ และอาจทำให้ท้องผูก ปวดท้องได้
  4. อาการแพ้งาดำ ในการบริโภคงาดำสามารถทำให้แพ้ได้ อาการการแพงงาดำ เช่น ระบบย่อยอาหารผิดปกติ ตาอักเสบ น้ำมูกไหล หายใจลำบาก เป็นต้น หรือบางรายมีอาการแพ้อย่างรุนแรง คือ หอบ ความดันโลหิตต่ำ รู้สึกแน่นหน้าอก และทางเดินหายใจตีบตัน อาจเสียชีวิตได้ในที่สุด
  5. การบริโภคงาดำมากเกินไปอาจทำให้เกิดการติดเชื้อที่ไส้ติ่งได้
  6. คุณสมบัติหนึ่งของาดำคือ เป็นยาระบาย ซึ่งถ้าบริโภคมากเกินไปจะทำให้มีการถ่ายท้องมากเกินไป
  7. งาดำมีสรรพคุณในการบำรุงผม แต่ถ้าหากใช้มากเกินไป จะทำให้ผมร่วงได้
  8. ในสตรีมีครรภ์ ช่วง 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์ ไม่ควรรับประทานงาดำ อาจทำให้แท้งบุตรได้

ขายถุงกระสอบ ถุงสายรุ้ง ย้ายหอ ย้ายบ้าน ต้องการถุงกระสอบ ถุงกระสอบราคาโรงงาน
ติดต่อ ทรัพย์ทวี Line Id : nongnlove