หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ อันตราย ทำให้เจ็บหน้าอกและเหนื่อยง่าย

ภาวะหัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะเดียวกัน เร็วหรือช้าเกินไป ส่งผลให้เกิดอาการใจสั่น หน้ามืด อ่อนเพลีย เจ็บหน้าอก อ่อนแรง หมดสติได้ ทำให้หัวใจวายได้ การรักษาทำอย่างไร หัวใจเต้นเร็วผิดปรกติ หัวใจเต้นเร็ว โรคหัวใจ รักษาโรคหัวใจเต้นเร็ว

ภาวะหัวใจเต้นเร็วผิดปกติ ภาษาอังกฤษ เรียก Arrhythmia โรคเกี่ยวกับหลอดเลือดและหัวใจ โรคไม่ติดต่อ เกิดจากการเต้นของหัวใจไม่เป็นจังหวะเดียวกัน หัวใจเต้นเร็วไป หรือ เต้นช้าไป และเต้นไม่สม่ำเสมอ หัวใจเต้นเร็ว โดยปรกติ หัวใจของคนเรามีอัตราการเต้น 100 ครั้งต่อนาทีสำหรับผู้ใหญ่ หากว่าหัวใจเราเต้นมากกว่าค่ามาตราฐาน ก็สามารถเรียกว่าเราอยู่ในภาวะหัวใจเต้นเร็ว อาการหัวใจเต้นเร็ว มีอยู่ 3 รูปแบบ ประกอบด้วย

  • Supraventricular (SVT)
  • atrial paroxysmal (PAT)
  • paroxysmal ภาวะหัวใจเต้นเร็ว (PSVT)

โดยปกติหัวใจของคนเรา เต้นใน อัตรา 60 ถึง100 ครั้งต่อนาที ซึ่ง ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ คือ ภาวะหัวใจเต้นเร็ว หรือช้ากว่าปกติ โดยอาจเกิดจากความผิดปกติของกระแสไฟฟ้าหัวใจ หรือ การนำไฟฟ้าหัวใจ ซึ่ง โรคหัวใจ เช่น ลิ้นหัวใจผิดปกติ กล้ามเนื้อหัวใจผิดปกติ หลอดเลือดหัวใจตีบตัน ไม่พบพยาธิสภาพ

สาเหตุของภาวะหัวใจเต้นเร็ว

สาเหตุของ ภาวะหัวใจเต้นเร็ว เกิดจากเกิดจากการหัวใจห้องบน เกิดความผิดปกติขึ้น ถูกกระตุ้นด้วยอะไรบางอย่าง ซึ่งเป็นการกระตุ้นการเต้นของหัวใจตามธรรมชาติ การที่หัวใจเต้นเร็ว ทำให้ระบบการไหลเวียนของโลหิตไม่มีประสิทธิภาพ ร่างกายไม่ได้รับออกซิเจน อย่างที่่ควรจะเป็น

กลุ่มเสี่ยงที่จะเกิดภาวะหัวใจเต้นเร็ว

สำหรับ ผู้ที่มีความเสี่ยงในการเกิดโรคหัวใจเต้นเร็ว นั้นมีหลายหกลุ่มที่มีความเสียงต่อภาวะนี้ เช่น กลุ่มเด็ก กลุ่มคนที่มีความเครียดสูง กลุ่มคนที่ใช้ร่างกายหนักทพให้เกิดการเกนื่ยล้า กลุ่มคนชอบดื่มเครื่องดื่มคาเฟอีน กลุ่มคนช้อดื่มสุรา และกลุ่มคนชอบสูบบุหรี่

อาการภาวะหัวใจเต้นเร็วผิดปกติ

อาการผู้ป่วยหัวใจเต้นเร็วผิดปรกติ นั้น จะมีอาการใจสั่น หน้ามืด อ่อนเพลีย เจ็บหน้าอก ไม่มีแรง อาจเป็นลมและหมดสติได้ หากหนักมากๆ ก็ทำให้หัวใจวายเลย ซึ่งอาการที่เกิดขึ้นนี้ จะทำให้ผู้ป่วยเกิดความกังวลใจ จนไม่สามารถใช้ชีวิตอย่างปรกติได้ แต่อาการทั้งหมด เกิดจากความเครียด ปัจจุบันการตรวจวินิจจัยทางการแพทย์นั้นดีขึ้น สามารถหาสาเหตุ เพื่อรักษาอย่างเหมาะสมได้

ภาวะหัวใจเต้นเร็ว ส่งผลเกิดโรคแทรกซ้อนต่างๆมากมาย เช่น หัวใจวาย เวียนศรีษะ วิงเวียน อาการใจสั่น เจ็บหน้าอก โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ เหนื่อยง่าย หมดสติ และหัวใจหยุดเต้น

การวินิจฉัยภาวะหัวใจเต้นผิดปกติ

การวินิจฉัยว่าเป็นภาวะหัวใจเต้นผิดปกติชนิดใด และมีพยาธิสภาพของหัวใจร่วมด้วยหรือไม่ แพทย์มักจะตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ หรือตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ 24 ชั่วโมง การเดินบนสายพาน (โดยเฉพาะในผู้ที่มีภาวะหัวใจเต้นผิดปกติเกิดขึ้นขณะออกกำลังกาย) การติดตามคลื่นไฟฟ้าหัวใจผ่านทางโทรศัพท์ และการกระตุ้นหัวใจในห้องปฏิบัติการ
การกระตุ้นหัวใจในห้องปฏิบัติการ ปัจจุบันนำมาใช้หาสาเหตุในผู้ป่วยที่สงสัยว่ามีความผิดปกติที่หัวใจห้องบน ความผิดปกติของการนำไฟฟ้าที่หัวใจห้องล่าง หัวใจเต้นเร็วผิดจังหวะ ผู้ป่วยที่รอดจากการปฏิบัติการกู้ชีพ และในผู้ป่วยที่เป็นลมหมดสติบ่อยๆโดยหาสาเหตุไม่ได้

ทำไมต้องรักษา

ผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจเต้นผิดปกติส่วนหนึ่งจะไม่มีอาการ ทำให้ไม่ได้ตระหนักถึงความสำคัญและภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น อันจะทำให้ผู้ป่วยและครอบครัวประสบปัญหายุ่งยากในการดำเนินชีวิต ตั้งแต่อัมพาตจนถึงเสียชีวิต
ภาวะหัวใจเต้นผิดปกติที่พบมากที่สุด คือ หัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะ ชนิดที่เรียกว่า Atrial fibrillation ผู้ป่วยมีโอกาสเกิดอัมพาตได้สูงถึง 10-15 % ต่อปี เนื่องจากลิ่มเลือดที่เกิดขึ้นในหัวใจจากการที่หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะหลุดลอยออกไปอุดหลอดเลือดสมอง เกิดภาวะหัวใจอ่อนกำลังอันเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตที่สูงขึ้นเมื่อพบร่วมกับโรคเบาหวาน หลอดเลือดหัวใจอุดตัน จึงเห็นได้ว่าในระยะยาวเมื่อเกิดภาวะแทรกซ้อนแล้วจะเป็นการยากที่จะรักษาให้ผู้ป่วยมีสุขภาพและคุณภาพชีวิตดีเหมือนเดิม

การรักษาโรคหัวใจเต้นเร็ว

สำหรับการรักษาโรคหัวใจเต้นเร็ว ไม่จำเป็นต้องใช้วิธีทางการแพทย์ในการรักษา โดยแนะนำให้ลดภาวะความเสี่ยงของการเกิดโรค เช่น พักผ่อนให้เพียงพอ เลิกดื่มกาแฟ เลิกดื่มสุรา เลิกสูบบุหรี่ และออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ แต่หากมีความจำเป็นต้องรักษา นั้น สามารถรักษาได้โดย

  • รักษาโรคหัวใจเต้นเร็ว ด้วยยารักษาโรค แพทย์อาจรักษาโดยการใช้ยาเพียงอย่างเดียว เริ่มด้วย ยาคลายเครียด แพทย์อาจให้ยาต้านการเต้นผิดปกติ หรือ ยากระตุ้นหัวใจ
  • รักษาโรคหัวใจเต้นเร็ว ด้วยการการจี้ด้วยพลังงานความร้อนเท่าคลื่นวิทยุ โดยใช้สายสวนพิเศษ (Radiofrequency Catheter Ablation) เป็นวิธีการรักษาภาวะหัวใจเต้นเร็วผิดปกติ ที่ได้ผลดีถึงดีมาก โดยการสอดสายสวนไปวางที่ตำแหน่งต่างๆในหัวใจ เพื่อวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ และกระตุ้นหัวใจ ซึ่งจะเปลี่ยนเป็นพลังงานความร้อนที่ปลายสายสวนพิเศษ ทำให้การนำไฟฟ้าที่จุดนั้นถูกทำลาย หัวใจก็จะไม่เต้นผิดปกติอีกต่อไป
  • การฝังเครื่องมือพิเศษ แพทย์จะให้ฝังเครื่องช็อคหัวใจอัตโนมัติที่หน้าอก ร่วมกับการรับประทานยาต้านการเต้นผิดจังหวะ
  • การผ่าตัด แก้ไขภาวะไฟฟ้าลัดวงจร ซึ่งมีทั้งแบบมาตรฐาน และชนิด Minimally Invasive Surgery

การดูแลผู้ป่วยภาวะหัวใจเต้นเร็ยผิดปรกติ

สำหรับผู้ป่วยโรคหัวใจเต้นเร็ยผิดปรกติ ให้หลีกเลี่ยงปัจจัยกระตุ้นที่ทำให้เกิดอาการหัวใจเต้นเร็วผิดปกติ เช่น ความเครียด ความวิตกกังวล ความมุ่งมั่นจนเกินไป การพักผ่อนไม่พอเพียง การออกกำลังกายอย่างหนัก การสูบบุหรี่ ดื่มน้ำชา กาแฟ เครื่องดื่มชูกำลัง แอลกอฮอล์

สมุนไพรบำรุงหัวใจ ช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจได้ เราจึงรวบรวมสมุนไพรที่ใช้บำรุงหัวใจ เป็นการรักษาและดูแลหัวใจดดยวิะีธรรมชาติ มีดังนี้

ย่านาง ใบย่านาง สมุนไพร สรรพคุณใบย่านางย่านาง ชุมเห็ดเทศ ต้นชุมเห็ดเทศ สรรพคุณของชุมเห็ดเทศ สมุนไพรชุมเห็ดเทศ
มะกอก สรรพคุณของมะกอก น้ำมันมะกอก โทษของมะกอกมะกอก รากสามสิบ ต้นรากสามสิบ สรรพคุณของรากสามสิบ ประโยชน์ของรากสามสิบรากสามสิบ
มะตูม ต้นมะตูม สรรพคุณของมะตูม ประโยชน์ของมะตูมมะตูม ต้นกาแฟ กาแฟ สรรพคุณของกาแฟ ประโยชน์ของกาแฟกาแฟ

ภาวะหัวใจเต้นเร็วผิดปรกติ ( Arrhythmia ) คือ ภาวะหัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะเดียวกัน เร็วหรือช้าเกินไป อาจเกิดจากความผิดปกติของกระแสไฟฟ้าที่หัวใจ โรคหลอดเลือดและหัวใจ โรคไม่ติดต่อ ส่งผลให้เกิดอาการใจสั่น หน้ามืด อ่อนเพลีย เจ็บหน้าอก อ่อนแรง อาจเป็นลมและหมดสติได้ ทำให้หัวใจวายได้ การรักษาโรคหัวใขเต็นเร็วผิดปรกติ

Last Updated on March 17, 2021